ตอนที่ 5 การตั้งราคา ต้องมีเป้าหมาย มีเหตุผล ตั้งแล้วต้องได้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์
การตั้งราคาหรือ Pricing ดูเป็นของง่าย ๆ แต่หากเราเข้าใจเรื่องกลไกราคา กับผลลัพท์ที่เกิดขึ้น จะช่วยทำให้การตั้งราคากลายเป็นเครื่องมือที่ทรงพลังของธุรกิจ
วิธีการตั้งราคามักมีแบบแผนที่มาไม่กี่แบบที่มักใช้กัน
1. ตั้งจากการเอาต้นทุนมารวมกัน และเพิ่ม Margin ที่อยากได้ แบบนี้ในทางวิชาการเรียน Cost-Plus
เช่น จากตัวอย่างครั้งก่อนเรื่องต้นทุนของข้าวผัดอเมริกัน พอได้แล้ว ก็ตั้งราคา โดย บวกเพิ่ม ว่า อยากได้ Margin หรือ ส่วนต่าง หรือ กำไรเท่าใด แล้วตั้งเป็นราคาขาย
วิธีนี้ หากรู้ต้นทุนที่แน่นอน จะเกิดประสิทธิภาพ ทว่า หากไม่ทราบต้นทุนจริง ๆ ล่ะก็จะเกิดปัญหา ในกรณีที่ Margin มีช่องว่างน้อย และการเปลี่ยนราคาทำได้ยาก เนื่องจากการเปลี่ยนราคาทำบ่อย ๆ ผู้บริโภคมักไม่ชอบใจ
2. ตั้งราคาตามตลาดและคู่แข่ง เป็นวิธีตั้งต้นสำหรับการตั้งราคา ในกรณี เป็นคนใหม่ในการเข้าสู่ตลาด เพราะว่า หากเป็นสินค้าประเภทที่ใกล้เคียงกัน หรือสามารถทดแทนกันได้ นั้น ราคามที่ตั้งมีความจำเป็นโดยปริยายที่จะต้องเท่ากัน ต่ำกว่า หรือ หากสูงกว่า ต้องสื่อสารให้ได้ว่า เหตุใดจึงตั้งราคาสูงกว่า เช่น จะขายข้าวแกงในโรงอาหาร หากตั้งราคาแพงกว่านั้น นแ่นอนว่า โอกาสในการขายจะต้อยลง การตั้งราคาเท่ากัน อาจจะมีเหตุผลมากกว่า หรือ การตั้งราคาต่ำกว่า อาจจะทำให้ช่วยจูงใจผู้ซื้อได้ หรือ การตั้งราคาสูงกว่า + เหตุผล อาทิ ใช้น้ำมันทอดใหม่เสมอ เพื่อสุขภาพที่ดีขึ้น ใช้วัตถุดิบที่ปลอดภัยกว่า แล้วสามารถทำให้ผู้ซื้อกลุ่มนี้ยินดีจ่ายเงินเพิ่ม ก็สามารถทำได้เช่นกัน
3. การตั้งราคาเพื่อสร้างมาตรฐานให้สินค้าใหม่ เหมาะสำหรับ การเป็นผู้เล่นใหม่ในตลาด โดยหากตั้งราคาได้ก่อน อาจะทำให้ ผู้ที่จะเข้ามาใหม่ในตลาดทำตลาดได้ยาก หาก palyer แรกๆ ในตลาด วางกลยุทธ์ไว้แล้ว เช่น จะนำเสนอบริการใหม่แล้วผู้ให้บริการ มี Unfair Advantage ที่คนอื่น ๆ ไม่มี เช่น วัคถุดิบที่กึ่งผูกขาด หรือมีต้นทุนน้อยกว่า แบบนี้ ต้นทุนในการประกอบการ และต้นทุนสินค้าต่ำกว่าแน่นอน การตั้งราคาได้ก่อน จะทำให้คู่แข่ง "ลำบาก" เพราะว่า ต้นทุนสูงกว่า หรือไม่มี "กลเม็ด" บางเรื่อง ที่เรามี
พี่แว่นหน้าตาดี เสนอไป 3 วิธีแรก ๆ ก่อนสำหรับการตั้งราคา
อย่าลืมว่า การตั้งราคาทุกครั้ง เมื่อขายต้องมี MARGIN และ MARGIN ต้องมีสัดส่วนมากกว่า "แก๊งค์ต้นทุนเพื่อนสนิท" แล้วจึงมี "กำไร"
การตั้งราคาผิด เช่น ไม่มี Margin เหลือพอ หรือ ตั้งสูงเกินไปจนลูกค้าไม่ซื้อ แบบนี้ จะทำให้กิจการอยู่ไม่ได้
ในตอนต่อไป พี่แว่นหน้าตาดี จะมาขยี้ เอ้ย อธิบายเพิ่มเติมเรื่อง การตั้งราคา อีกครับ โปรดติดตาม #บทเรียนง่ายๆสไตล์มอนซูน
#บทเรียนง่ายๆสไตล์มอนซูน
#สถานการณ์นี้เรียนรู้ได้จากMonsoonSIM
#จะเรียนแบบเดิมทำไมในเมื่อเรียนแล้ววัดผลได้ด้วยMonsoonSIM
#มหาวิทยาลัยที่เน้นActiveLearningใช้MonsoonSIM
การตั้งราคาหรือ Pricing ดูเป็นของง่าย ๆ แต่หากเราเข้าใจเรื่องกลไกราคา กับผลลัพท์ที่เกิดขึ้น จะช่วยทำให้การตั้งราคากลายเป็นเครื่องมือที่ทรงพลังของธุรกิจ
วิธีการตั้งราคามักมีแบบแผนที่มาไม่กี่แบบที่มักใช้กัน
1. ตั้งจากการเอาต้นทุนมารวมกัน และเพิ่ม Margin ที่อยากได้ แบบนี้ในทางวิชาการเรียน Cost-Plus
เช่น จากตัวอย่างครั้งก่อนเรื่องต้นทุนของข้าวผัดอเมริกัน พอได้แล้ว ก็ตั้งราคา โดย บวกเพิ่ม ว่า อยากได้ Margin หรือ ส่วนต่าง หรือ กำไรเท่าใด แล้วตั้งเป็นราคาขาย
วิธีนี้ หากรู้ต้นทุนที่แน่นอน จะเกิดประสิทธิภาพ ทว่า หากไม่ทราบต้นทุนจริง ๆ ล่ะก็จะเกิดปัญหา ในกรณีที่ Margin มีช่องว่างน้อย และการเปลี่ยนราคาทำได้ยาก เนื่องจากการเปลี่ยนราคาทำบ่อย ๆ ผู้บริโภคมักไม่ชอบใจ
2. ตั้งราคาตามตลาดและคู่แข่ง เป็นวิธีตั้งต้นสำหรับการตั้งราคา ในกรณี เป็นคนใหม่ในการเข้าสู่ตลาด เพราะว่า หากเป็นสินค้าประเภทที่ใกล้เคียงกัน หรือสามารถทดแทนกันได้ นั้น ราคามที่ตั้งมีความจำเป็นโดยปริยายที่จะต้องเท่ากัน ต่ำกว่า หรือ หากสูงกว่า ต้องสื่อสารให้ได้ว่า เหตุใดจึงตั้งราคาสูงกว่า เช่น จะขายข้าวแกงในโรงอาหาร หากตั้งราคาแพงกว่านั้น นแ่นอนว่า โอกาสในการขายจะต้อยลง การตั้งราคาเท่ากัน อาจจะมีเหตุผลมากกว่า หรือ การตั้งราคาต่ำกว่า อาจจะทำให้ช่วยจูงใจผู้ซื้อได้ หรือ การตั้งราคาสูงกว่า + เหตุผล อาทิ ใช้น้ำมันทอดใหม่เสมอ เพื่อสุขภาพที่ดีขึ้น ใช้วัตถุดิบที่ปลอดภัยกว่า แล้วสามารถทำให้ผู้ซื้อกลุ่มนี้ยินดีจ่ายเงินเพิ่ม ก็สามารถทำได้เช่นกัน
3. การตั้งราคาเพื่อสร้างมาตรฐานให้สินค้าใหม่ เหมาะสำหรับ การเป็นผู้เล่นใหม่ในตลาด โดยหากตั้งราคาได้ก่อน อาจะทำให้ ผู้ที่จะเข้ามาใหม่ในตลาดทำตลาดได้ยาก หาก palyer แรกๆ ในตลาด วางกลยุทธ์ไว้แล้ว เช่น จะนำเสนอบริการใหม่แล้วผู้ให้บริการ มี Unfair Advantage ที่คนอื่น ๆ ไม่มี เช่น วัคถุดิบที่กึ่งผูกขาด หรือมีต้นทุนน้อยกว่า แบบนี้ ต้นทุนในการประกอบการ และต้นทุนสินค้าต่ำกว่าแน่นอน การตั้งราคาได้ก่อน จะทำให้คู่แข่ง "ลำบาก" เพราะว่า ต้นทุนสูงกว่า หรือไม่มี "กลเม็ด" บางเรื่อง ที่เรามี
พี่แว่นหน้าตาดี เสนอไป 3 วิธีแรก ๆ ก่อนสำหรับการตั้งราคา
อย่าลืมว่า การตั้งราคาทุกครั้ง เมื่อขายต้องมี MARGIN และ MARGIN ต้องมีสัดส่วนมากกว่า "แก๊งค์ต้นทุนเพื่อนสนิท" แล้วจึงมี "กำไร"
การตั้งราคาผิด เช่น ไม่มี Margin เหลือพอ หรือ ตั้งสูงเกินไปจนลูกค้าไม่ซื้อ แบบนี้ จะทำให้กิจการอยู่ไม่ได้
ในตอนต่อไป พี่แว่นหน้าตาดี จะมาขยี้ เอ้ย อธิบายเพิ่มเติมเรื่อง การตั้งราคา อีกครับ โปรดติดตาม #บทเรียนง่ายๆสไตล์มอนซูน
#บทเรียนง่ายๆสไตล์มอนซูน
#สถานการณ์นี้เรียนรู้ได้จากMonsoonSIM
#จะเรียนแบบเดิมทำไมในเมื่อเรียนแล้ววัดผลได้ด้วยMonsoonSIM
#มหาวิทยาลัยที่เน้นActiveLearningใช้MonsoonSIM