ตอนที่ 8 ถ้ากลยุทธ์ราคาใช้ได้ผล นักประกอบการจะต้องเตรียมวางแผนอะไรสนับสนุนบ้าง
ก่อนอื่นเลย พี่แว่นหน้าตาดีบอกเคล็ดวิชาไว้ก่อน
- หากอยู่เฉยๆ จะได้ผลเช่นเดิม หากทำเหมือนเดิมแล้ว "ได้ผล" ไม่ได้แปลว่าจะได้ผลตลอดไป เพราะว่าคู่แข่งจะเปลี่ยนแปลงตลอด ปัจจัยแวดล้อมอาจจะเปลี่ยนไปได้ทุกเมื่อ
- นักวางแผนต้องวางแผนในกระบวนการทั้งหมด และหาทางเลือก ทางออกเอาไว้หลาย ๆ ทาง และจะต้องรู้ว่า จะดำเนินการต่อไปอย่างไร ให้เกิดประสิทธิภาพทุกส่วน
ราคา เป็นหนึ่งในเครื่องมือในการทำตลาดที่ทรงพลานุภาพ ในสายวิชาคลาสสิคด้านการตลาด หรือ Marketing Mix (4Ps) และอาจะไม่ต้องใช้ความซ้บซ้อนมากในตลาดที่ยังสามารถใช้การผสมผสาน 4Ps หรือ 7Ps ได้ผล ตราบใดที่นักประะกอบการเข้าใจว่าตัวเองใช้ระดับราคาใด และตอบสนองวัตถุประสงค์ได้ ก็เพียงพอ
ก่อนอื่นจะต้องวัดผลให้ได้ว่าเกิดประโยชน์ตามวัตถุประสงค์หรือไม่ มิเช่นนั้นแล้วจะไม่ทราบว่าที่ได้ผลนั้นมาจากสาเหตุใด เช่น หากการใช้ราคาได้ผล
- "ยอดขายจะเพิ่มมากขึ้น" หรือ
- "รักษาระดับการขายได้ในเวลาที่ผู้ค้ารายอื่นมียอดขายน้อยลง" หรือ
- "ได้กระแสเงินสดกลับมาเพื่อหมุนเวียนในกิจการ" หรือ
- "ใช้ ในการสร้างส่วนแบ่งกทางการตลาดด้วยวิธีการทุ่มคลาดด้วยราคาที่ต่ำกว่าตู่แข่ง" หรือ
- "สามารถทำให้ผู้ซื้อเปลี่ยนใจมาจากคู่แข่งของเราเพื่อทดลองสิ้นค้า" เป็นต้น เหล่านี้เป็นตัวอย่างของวัตถุประสงค์ที่ต้องตั้งไว้ก่อนที่จะใช้กลไกเรื่องราคาในการทำตลาด
แต่อย่างไรเสียต้องไม่ลืมว่า การตั้งราตาที่ดี ยังคงกฎพื้นฐานคือ ต้องม Margin หรือส่วนต่างราคาเป็น + และ ส่วนต่างราคานั้น ต้อง "ครอบคลุม" และ "มากกว่า" รายจ่ายในการประกอบการทั้งหมด จนเกิดเป็นกำไร
ในสมมติฐานนี้ คือ ผู้ประกอบการสามารถใช้ "ราคา" ได้ผล ตามหัวข้อคือ นักประกอบการจำต้องเตรียมการอะไรบ้าง
ต้องเป็นนักตั้งคำถามที่ดี หาก ราคาได้ผล แปลว่าอะไรบ้าง
จำนวนสินค้าคงคลังเดิมในร้านค้า หรือในสาขาจะต้องลดลงรวดเร็วกว่าเดิม
1.1 เราจะได้เตรียมการรองรับเรื่อง Procure สินค้า หรือ กระบวนการ Logistics and Supply Chain ที่เกี่ยวข้อง
A) ในกรณีที่เรามีคลังสินค้าหลัก และจะต้องกระจายไปยังคลังย่อย ๆ จะได้วางแผนในการเติมเต็มสินค้า ให้มีเพียงพอกับยอดขายที่เพิมขึ้น ทั้งนี้ต้อง
ประสานการฝ่ายจัดส่งสินค้าล่วงหน้า เพื่อเตรียมการ schedule รอบการส่ง ให้ถี่ขึ้น หรือ ปรับเปลี่ยนขนาดของรถขนส่งที่เหมะสม
B) ในกรณีที่เรารับสินค้ามาขาย เราจะได้ประสานงานกับ Vendors ของเรา ให้สามารถเติมเต็มสินค้าได้โดยไม่ขาด โดยจะต้องเข้าใจเรื่อง Lead Time
ของแต่ละขั้นตอน
B1) กรณีย่อย ที่ Vendors มีข้อจำกัด และไม่สามารถที่จะให้สินค้าได้ตามเวลา จะต้องดำเนินการต่อไปอย่างไร เช่น หาก Vebdors ที่สามารถให้
สินค้าได้ หรือ ต้องเตรียมเพิ่มระดับของ Safety Stock ล่วงหน้า หากคาดว่า แผนจะเป็นไปตามที่วางไว้ ก่อนจะเกิดปัญหานี้
C) ในกรณีที่เราผลิตสินค้าเอง จะเป็นจะต้องเตรียมการวางแผนการผลิตใหม่ ในสินค้าที่สามารถทำตลาดได้ ให้สอดคล้องกัน รวมไปถึงกระบวนการต่าง ๆ
ที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็นการจัดซื้อวัตถุดิบ กระบวนการผลิต แผนการซ่อมบำรุง
C1) กรณีย่อย ที่มีความสามารถในการผลิตจำกัด จะต้องวางแผน เช่น Procurement Mix คือ จะผลิตเองเท่าไหร่ และจะไป Outsources จำนวน
เท่าใด
1.2 มองด้วยกระบวนการคิดด้าน Finance เนื่องจาก จะเป็นจะต้องมีเงินสด หรือสภาพคล่องเพิ่มขึ้นไปด้วย ในกรณีแบบนี้ ขึ้นอยู่กับสถาะนะของผู้ประกอบการ/สถานประกอบการในขณะนั้น เช่น
A) มีสภาพคล่องสูง หากเป็นแนวทางนี้จะไม่มีปัญหา
B) มีสภาพคล่องแต่ไม่พอ จะต้อประเมินว่า มีความสามารถ หรือมีความน่าเชื่อถือ ที่จะนำเงินมาเติมจากแหล่งต่าง ๆ ได้หรือไม่ เช่น ผู้ถือหุ้น หรือ แหล่งเงินอื่น ๆ ในกรณี B นี้ พี่แว่นหน้าตาดีจะแตกเป็นหัวเรื่องต่อไป
C) ขาดสภาพคล่องทางการเงิน ซึ่งอาจจะกระทบแผน และหากหาแหล่งทุนไม่ได้ แผนการใช้ราคาอาจจะต้องพับเก็บไว้ก่อน
1.3 มองด้วยประบวนการด้าน HR ซึ่งสามารถมองได้หลายมุม ไม่ว่า จะเป็น การให้ค่าตอบแทนเพิ่มเติม, การเพิ่มจำนวนคนชั่วคราวเพื่อรองรับแผน, การพัฒนาบุคคลากรล่วงหน้าด้านการบริการ, การเตรียมเรื่อง After Ssales Services ฯลฯ
จะเห็นได้ว่า หากสมการในการประกอบการเปลี่ยนไป นักประกอบการนั้น จะต้องเข้าใจกลไก และการวางแผนที่เกี่ยวข้องกับส่วนงาน อื่น ๆ ไปพร้อมกัน มิเช่นนั้น จะเกิดปัญหาต่อไป นี่คือสิ่งที่พี่แว่นหน้าตาดี ให้แนวคิดในการบริการจัดการแบบองค์รวมเพิ่มเติมไว้
ไว้พบกันในตอนต่อไป ท่านสามารถติดตามเนื้อหาที่พยายามทำให้เรื่องยากนั้นง่ายลง ได้โดยตาม #บทเรียนง่ายๆสไตล์มอนซูน
แล้วพบกันในตอนต่อไปครับ
พี่แว่นหน้าตาดี (มากกกก)
#บทเรียนง่ายๆสไตล์มอนซูน
#คิดเป็นเพราะเล่นเกมMonsoonSIM
#สอนเรื่องนี้ด้วยการบรรยายไม่เกิดผลเท่าสอนเรื่องนี้ด้วยMonsoonSIM
ก่อนอื่นเลย พี่แว่นหน้าตาดีบอกเคล็ดวิชาไว้ก่อน
- หากอยู่เฉยๆ จะได้ผลเช่นเดิม หากทำเหมือนเดิมแล้ว "ได้ผล" ไม่ได้แปลว่าจะได้ผลตลอดไป เพราะว่าคู่แข่งจะเปลี่ยนแปลงตลอด ปัจจัยแวดล้อมอาจจะเปลี่ยนไปได้ทุกเมื่อ
- นักวางแผนต้องวางแผนในกระบวนการทั้งหมด และหาทางเลือก ทางออกเอาไว้หลาย ๆ ทาง และจะต้องรู้ว่า จะดำเนินการต่อไปอย่างไร ให้เกิดประสิทธิภาพทุกส่วน
ราคา เป็นหนึ่งในเครื่องมือในการทำตลาดที่ทรงพลานุภาพ ในสายวิชาคลาสสิคด้านการตลาด หรือ Marketing Mix (4Ps) และอาจะไม่ต้องใช้ความซ้บซ้อนมากในตลาดที่ยังสามารถใช้การผสมผสาน 4Ps หรือ 7Ps ได้ผล ตราบใดที่นักประะกอบการเข้าใจว่าตัวเองใช้ระดับราคาใด และตอบสนองวัตถุประสงค์ได้ ก็เพียงพอ
ก่อนอื่นจะต้องวัดผลให้ได้ว่าเกิดประโยชน์ตามวัตถุประสงค์หรือไม่ มิเช่นนั้นแล้วจะไม่ทราบว่าที่ได้ผลนั้นมาจากสาเหตุใด เช่น หากการใช้ราคาได้ผล
- "ยอดขายจะเพิ่มมากขึ้น" หรือ
- "รักษาระดับการขายได้ในเวลาที่ผู้ค้ารายอื่นมียอดขายน้อยลง" หรือ
- "ได้กระแสเงินสดกลับมาเพื่อหมุนเวียนในกิจการ" หรือ
- "ใช้ ในการสร้างส่วนแบ่งกทางการตลาดด้วยวิธีการทุ่มคลาดด้วยราคาที่ต่ำกว่าตู่แข่ง" หรือ
- "สามารถทำให้ผู้ซื้อเปลี่ยนใจมาจากคู่แข่งของเราเพื่อทดลองสิ้นค้า" เป็นต้น เหล่านี้เป็นตัวอย่างของวัตถุประสงค์ที่ต้องตั้งไว้ก่อนที่จะใช้กลไกเรื่องราคาในการทำตลาด
แต่อย่างไรเสียต้องไม่ลืมว่า การตั้งราตาที่ดี ยังคงกฎพื้นฐานคือ ต้องม Margin หรือส่วนต่างราคาเป็น + และ ส่วนต่างราคานั้น ต้อง "ครอบคลุม" และ "มากกว่า" รายจ่ายในการประกอบการทั้งหมด จนเกิดเป็นกำไร
ในสมมติฐานนี้ คือ ผู้ประกอบการสามารถใช้ "ราคา" ได้ผล ตามหัวข้อคือ นักประกอบการจำต้องเตรียมการอะไรบ้าง
ต้องเป็นนักตั้งคำถามที่ดี หาก ราคาได้ผล แปลว่าอะไรบ้าง
จำนวนสินค้าคงคลังเดิมในร้านค้า หรือในสาขาจะต้องลดลงรวดเร็วกว่าเดิม
1.1 เราจะได้เตรียมการรองรับเรื่อง Procure สินค้า หรือ กระบวนการ Logistics and Supply Chain ที่เกี่ยวข้อง
A) ในกรณีที่เรามีคลังสินค้าหลัก และจะต้องกระจายไปยังคลังย่อย ๆ จะได้วางแผนในการเติมเต็มสินค้า ให้มีเพียงพอกับยอดขายที่เพิมขึ้น ทั้งนี้ต้อง
ประสานการฝ่ายจัดส่งสินค้าล่วงหน้า เพื่อเตรียมการ schedule รอบการส่ง ให้ถี่ขึ้น หรือ ปรับเปลี่ยนขนาดของรถขนส่งที่เหมะสม
B) ในกรณีที่เรารับสินค้ามาขาย เราจะได้ประสานงานกับ Vendors ของเรา ให้สามารถเติมเต็มสินค้าได้โดยไม่ขาด โดยจะต้องเข้าใจเรื่อง Lead Time
ของแต่ละขั้นตอน
B1) กรณีย่อย ที่ Vendors มีข้อจำกัด และไม่สามารถที่จะให้สินค้าได้ตามเวลา จะต้องดำเนินการต่อไปอย่างไร เช่น หาก Vebdors ที่สามารถให้
สินค้าได้ หรือ ต้องเตรียมเพิ่มระดับของ Safety Stock ล่วงหน้า หากคาดว่า แผนจะเป็นไปตามที่วางไว้ ก่อนจะเกิดปัญหานี้
C) ในกรณีที่เราผลิตสินค้าเอง จะเป็นจะต้องเตรียมการวางแผนการผลิตใหม่ ในสินค้าที่สามารถทำตลาดได้ ให้สอดคล้องกัน รวมไปถึงกระบวนการต่าง ๆ
ที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็นการจัดซื้อวัตถุดิบ กระบวนการผลิต แผนการซ่อมบำรุง
C1) กรณีย่อย ที่มีความสามารถในการผลิตจำกัด จะต้องวางแผน เช่น Procurement Mix คือ จะผลิตเองเท่าไหร่ และจะไป Outsources จำนวน
เท่าใด
1.2 มองด้วยกระบวนการคิดด้าน Finance เนื่องจาก จะเป็นจะต้องมีเงินสด หรือสภาพคล่องเพิ่มขึ้นไปด้วย ในกรณีแบบนี้ ขึ้นอยู่กับสถาะนะของผู้ประกอบการ/สถานประกอบการในขณะนั้น เช่น
A) มีสภาพคล่องสูง หากเป็นแนวทางนี้จะไม่มีปัญหา
B) มีสภาพคล่องแต่ไม่พอ จะต้อประเมินว่า มีความสามารถ หรือมีความน่าเชื่อถือ ที่จะนำเงินมาเติมจากแหล่งต่าง ๆ ได้หรือไม่ เช่น ผู้ถือหุ้น หรือ แหล่งเงินอื่น ๆ ในกรณี B นี้ พี่แว่นหน้าตาดีจะแตกเป็นหัวเรื่องต่อไป
C) ขาดสภาพคล่องทางการเงิน ซึ่งอาจจะกระทบแผน และหากหาแหล่งทุนไม่ได้ แผนการใช้ราคาอาจจะต้องพับเก็บไว้ก่อน
1.3 มองด้วยประบวนการด้าน HR ซึ่งสามารถมองได้หลายมุม ไม่ว่า จะเป็น การให้ค่าตอบแทนเพิ่มเติม, การเพิ่มจำนวนคนชั่วคราวเพื่อรองรับแผน, การพัฒนาบุคคลากรล่วงหน้าด้านการบริการ, การเตรียมเรื่อง After Ssales Services ฯลฯ
จะเห็นได้ว่า หากสมการในการประกอบการเปลี่ยนไป นักประกอบการนั้น จะต้องเข้าใจกลไก และการวางแผนที่เกี่ยวข้องกับส่วนงาน อื่น ๆ ไปพร้อมกัน มิเช่นนั้น จะเกิดปัญหาต่อไป นี่คือสิ่งที่พี่แว่นหน้าตาดี ให้แนวคิดในการบริการจัดการแบบองค์รวมเพิ่มเติมไว้
ไว้พบกันในตอนต่อไป ท่านสามารถติดตามเนื้อหาที่พยายามทำให้เรื่องยากนั้นง่ายลง ได้โดยตาม #บทเรียนง่ายๆสไตล์มอนซูน
แล้วพบกันในตอนต่อไปครับ
พี่แว่นหน้าตาดี (มากกกก)
#บทเรียนง่ายๆสไตล์มอนซูน
#คิดเป็นเพราะเล่นเกมMonsoonSIM
#สอนเรื่องนี้ด้วยการบรรยายไม่เกิดผลเท่าสอนเรื่องนี้ด้วยMonsoonSIM