สรุปใจความสำคัญ: Christine Contesstto, Edwin KiaYang Lim และ Harsh Suri จาก Department of Accounting, Deakin Business School, Deakin University ได้นำเสนอบทความทางวิชาการ (ซึ่่งท่านสามารถ download ได้จาก Link ด้านล่างนี้) ในงาน ASCILITE 2021 ซึ่งจัดโดยองค์กรเพื่อส่งเสริมการใช้ นวตกรรมในการเรียนการสอนของประเทศออสเตรเลีย ทั้งสามท่านได้นำเอา MonsoonSIM เป็นส่วนหนึ่งในกระบวนการทำวิจัย และนำมาเสนอในที่ประชุม ในชั้นเรียน 11 สัปดาห์ โดยใช้วิธีการหลายหลามาผสมผสานกันอย่างเป็นกระบวนการ และใช้ MonsoonSIM เป็นส่วนหนึ่งของเครื่องมือและเกิดประสิทธิผลในการเรียนรู้ ผ่านบทความที่ชื่อว่า Design hybrid and Online capstone experiences for accounting students. ซึ่งบทความนี้นำเสนอในปี 2021 ทว่าอาจารย์ทั้ง 3 ท่านได้ทดลองในกระบวนการนี้ตั้งแต่ปี 2017 และได้เก็บข้อมูลรวบรวมมาจนเป็นบทความนี้
หมายเหตุ: บทความนี้เป็นบทความแปลบางส่วนและสรุปใจความสำคัญ และประสานความเห็นของ Facilitator และผู้แปล (โดย ปรมินทร์ เยาว์ยืนยง, MonsoonSIM Thailand) ผู้แปลไม่ใช่นักภาษาศาสตร์ หรือผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษา โปรดศึกษาและอ่านต้นฉบับประกอบเป็นสำคัญ
หมายเหตุ: บทความนี้เป็นบทความแปลบางส่วนและสรุปใจความสำคัญ และประสานความเห็นของ Facilitator และผู้แปล (โดย ปรมินทร์ เยาว์ยืนยง, MonsoonSIM Thailand) ผู้แปลไม่ใช่นักภาษาศาสตร์ หรือผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษา โปรดศึกษาและอ่านต้นฉบับประกอบเป็นสำคัญ
| เอกสารนี้เป็นเอกสารที่เผยแพร่ในงาน ASCILITE 2021 ACSILITE คือ องค์กรด้านการศึกษาเรื่องการใช้คอมพิวเตอร์ในการเรียนรู้ในบริบทของการศึกษาของประเทศออสเตรเลีย ซึ่งมีวิสัยทัศน์ในการผลักดันให้ใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มศักยภาพในการเรียนรู้ โดยมีสมาชิกเป็นคณาจารย์ และผู้ทรงคุณวุฒิในด้านการศึกษามารวมตัวกันเพื่อพัฒนาแนวคิด และแนวปฏิบัติในการเรียนและการสอนผ่านหลักสูตรต่างๆ โดยมุ่งเน้นให้ใช้เทคโนโลยีเป็นพื้นฐานในการพัฒนาการเรียนการสอน เป็นแหล่งรวบรวมงานวิจัยเกี่ยวกับนวตกรรมที่ใช้เทคโนโลยีเพื่อช่วยให้เกิดประสิทธิผลทางการศึกษา (สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ที่ website https://ascilite.org/) |
ผู้ร่วมเขียนบทความทั้งสาม ได้บอกวัตถุประสงค์ว่าต้องการที่จะแบ่งปันข้อมูลจากประสบการณ์ที่ได้ผสมผสานการเรียนการสอนในรูปแบบ Hybrid และ Online Class เพื่อให้เห็นปัจจัยร่วมที่สำคัญที่สร้างให้เกิดการพัฒนา Professional Skills และสร้าง Identity (ตัวตนของผู้เรียน) ในโมเดลของ scaffolded development ในชั้นเรียน 11 สัปดาห์ ซึ่งผสมผสาน Experiential Leaning, Assessment Activity เข้ากับ Enterprise Resources Planning Business Simulation (MonsoonSIM; โดยผู้แปล) ควบรวมกับ Employability Skills Training และกรณีศึกษาต่าง ๆ เข้าด้วยดีน ซึ่งได้รับการประเมินในเกณฑ์สูงมากจากผู้เรียนว่าเกิดความเข้าใจได้เป็นอย่างดี
Capstone เป็นคำที่ใช้แทนชุดวิชา หรือกลุ่มวิชาในช่วง Senior หรือปีท้าย ๆ ของมหาวิทยาลัยในต่างประเทศ ในไทยอาจใกล้เคียง "วิชาสัมมนา" ซึ่งคัดลอกแนวคิดมาจากการศึกษาของอเมริกันซึ่งใช้คำว่า "Senior Seminar" หรือ ในภาคของการศึกษาอังกฤษ ใช้คำว่า "Final Year Projects" ; ความหมายสรุปโดยผู้แปลจาก https://en.wikipedia.org/wiki/Capstone_course
ทางอาจารย์แจ้งว่า ในวิชา 11 สัปดาห์นี้ ถือเป็นส่วนหนึ่งของ Capstone Unit ซึ่งกำหนดไว้เพื่อเชื่อมโยงความรู้ และเตรียมนักศึกษาให้มีความพร้อมในการทำงานในอนาคต (กล่าวคือ สร้างประสบการณ์ และเพิ่มประสบการณ์ให้กับนักศึกษา เพื่อให้ convert ความรู้ที่เรียนมาเพื่อเตรียม "ประยุกต์" ไปใช้งานได้เมื่อเจอสถานการณ์จริง โดยมากวิชากลุ่มสัมมนานี้ มักจะเป็นวิชาท้าย ๆ ของปีสุดท้าย ในประเทศไทยมักอยู่หลังจากการไปฝีกงาน หรือการไปสหกิจแล้ว) โดยการพัฒนาวิชา Capstone นี้ รัฐบาลให้ความใส่ใจและเป็นเรื่องที่ให้ความสำคัญในกระบวนการศึกษา (ซึ่งแตกต่างจากประเทศไทย) เพื่อให้นักศึกษาของออสเตรเลียมรความพร้อมในโลกที่มีซับซ้อนมากกว่าในการเรียนในรั้วมหาวิทยาลัย และทำให้นักศึกษาเกิดการพัฒนาทักษะเพื่อการำงานอย่างมืออาชีพได้ต่อไป ทั้งสามท่านใช้กระบวนการของ Scaffolding ในการสร้างเสริมทักษะด้วยกระบวนที่หลากหลายและออกแบบมาอย่างดีใน 11 สัปดาห์
ทางอาจารย์แจ้งว่า ในวิชา 11 สัปดาห์นี้ ถือเป็นส่วนหนึ่งของ Capstone Unit ซึ่งกำหนดไว้เพื่อเชื่อมโยงความรู้ และเตรียมนักศึกษาให้มีความพร้อมในการทำงานในอนาคต (กล่าวคือ สร้างประสบการณ์ และเพิ่มประสบการณ์ให้กับนักศึกษา เพื่อให้ convert ความรู้ที่เรียนมาเพื่อเตรียม "ประยุกต์" ไปใช้งานได้เมื่อเจอสถานการณ์จริง โดยมากวิชากลุ่มสัมมนานี้ มักจะเป็นวิชาท้าย ๆ ของปีสุดท้าย ในประเทศไทยมักอยู่หลังจากการไปฝีกงาน หรือการไปสหกิจแล้ว) โดยการพัฒนาวิชา Capstone นี้ รัฐบาลให้ความใส่ใจและเป็นเรื่องที่ให้ความสำคัญในกระบวนการศึกษา (ซึ่งแตกต่างจากประเทศไทย) เพื่อให้นักศึกษาของออสเตรเลียมรความพร้อมในโลกที่มีซับซ้อนมากกว่าในการเรียนในรั้วมหาวิทยาลัย และทำให้นักศึกษาเกิดการพัฒนาทักษะเพื่อการำงานอย่างมืออาชีพได้ต่อไป ทั้งสามท่านใช้กระบวนการของ Scaffolding ในการสร้างเสริมทักษะด้วยกระบวนที่หลากหลายและออกแบบมาอย่างดีใน 11 สัปดาห์
Capstone Unit รุ่นปัจจุบัน (2021) ของ Deakin Business School เริ่มพัฒนาในช่วงต้นปี 2016 โดยเริ่มต้นจากการสัมภาษณ์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในว่าที่บัณฑิต อาทิ Recruiter, ลูกจ้าง, ตัวแทนด้านวิชาชีพบัญชร รวมไปถึงศิษย์เก่าที่เกี่ยวข้องเพื่อที่จะเข้าใจความต้องการ และความคาดหวังในทักษะที่เป็นที่ต้องการในฐานะนักบัญชี, ที่ปรึกษาด้านบัญชีมืออาชีพ ซึ่งพบว่า ทักษะที่เป็นที่ต้องการและต้องใช้งานได้อย่างดี ได้แก่ ความสามารถในการสื่อสาร, การทำงานร่วมกับผู้อื่นแบบทีม, ความสามารถในการคิด วิเคราะห์ปัญหาที่มีความซับซ้อน และหาทางแก้ไขได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งพบว่าทักษะเหล่านี้ขาดแคลนจากการสัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นข้อมูลตั้งต้นในกว่าเริ่มกระบวนการวางแผนปรับและสร้าง Capstone Unit ด้วยข้อมูลและสมมติฐานนี้
เมื่อได้รับข้อมูลรวมไปถึง feedback ต่าง ๆ จากผู้เกี่ยวข้องทำให้กระบวนการต่อมา คือการวางแผนออกแบบหลักสูตรโดยมีหลักสองประการ ดังนี้
- ช่วยให้นักศึกษามีความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของนักบัญชีในบริบทของโลกธุรกิจในปัจจุบัน ซึ่งนักบัญชีจะต้องเข้าใจและวิเคราะห์ข้อมูลที่หลากหลายแตกต่างไปจากโลกธุรกิจเดิม
- ช่วยให้นักศึกษาเกิดมีทักษะที่พร้อมต่อการได้รับการจ้างงาน และทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ (ทักษะในที่นี้ ในเชิงของการศึกษาให้เข้าใจว่า ครอบคลุมทั้ง Hard Skills หรือชุดความรู้ และ Soft Skills ทักษะที่ใช้ประกอบกันในการทำงาน; เพิ่มเติมและอธิบายโดยผู้แปล)
Capstone Unit ที่พัฒนาขึ้น มีองค์ประกอบ 4 องค์ประกอบที่ร้อยเรียงเป็นโครงสร้าง ซึ่งมี 4 องค์ประกอบดังนี้
- เชื่อมโยงทฤษฎีสู่การปฏิบัติ Linking Theory to Practice ในสามสัปดาห์แรก
- สร้างประสบการณ์ด้วย Simulation Experience; Enterprise Resources Plaining Business Simulation (;MonsoonSIM) ในสัปดาห์ที่ 4-6
- การเตรียมการในความพร้อมด้านอาชีพ และเน้นทักษะประสบการณ์ Career Prepareness and Employment Skills สัปดาหฺ์ที่ 7
- กรณีศึกษา Case Study ในสัปดาห์ที่ 8-11
เชื่อมโยงทฤษฎีสู่การปฏิบัติ Linking Theory to Practice ในสามสัปดาห์แรก
องค์ประกอบแรก คือ การเชื่อมโยงเพื่อจัดการช่องว่างระหว่างทฤษฎี และการปฎิบัติ (ช่องว่างที่เป็นปัญหาของการจัดการศึกษาที่สำคัญ) โดยนำเอาทฤษฎีและความรู้ต่าง ๆ ในด้านบัญชี มาเป็นฐานในการเชื่อมโยง ซึ่งได้ใช้นวตกรรมในการเรียนรู้ ผสานกับการสืบต้นสาเหตุในกิจกรรมที่บัญชีมีความเกี่ยวข้องโดยอาศัยกระบวนการ PBL; Problem Based Learning ซึ่งให้นักศึกษา "สวมบทบาท" ที่แตกต่างกันในกระบวนการทางธุรกิจ เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ (ซึ่งใช้ Framework FIRDE ของ Stanley and Marsden จาก QUT; Queenland University of Technology ที่ตีพิมพ์ไว้ในปี 2012 เป็น Framework) (ดูผลงานของ Stanley and Marsden ได้ที่นี่) FIRDE คือ
เมื่อปฏิบัติตาม Framwork แล้ว นักศึกษาจะได้รับประสบการณ์ และเชื่อมโยงทฤษฎีไปสู่การปฏิบัติ โดยต้องประสานกับมุมมองด้านธุรกิจในมุมมองอื่นๆ เช่น สมดุลด้านการเงิน, จริยธรรมด้านวิชาชีพ ซึ่งนักศึกษาศึกษากิจกรรมเหล่านี้จากรายงานทางธุรกิจและก่อให้เกิดความเข้าใจที่มากขึ้น โดยให้น้ำหนักในการประเมินใน Capstone Unit นี้ 20% จากคะแนนทั้งหมด
ความเห็นจากผู้แปล การใช้ Framework นี้ ทำให้นักศึกษามีการคิดเป็นกระบวนการ เข้าใจสถานกา่รณ์ เชื่อมโยงกับทฤษฎีได้ดี ซึ่งนักศึกษาจะได้ผนวกแนวคิดนี้กับองค์ประกอบอื่นๆ อีก 3 องค์ประกอบรวมกันต่อไป ซึ่งทำให้นักศึกษาประติดประต่อจิ๊กซอว์ความรนู้ กับจิ๊กซอว์ของการปฏิบัติตามมาตรฐานทางบัญชี เข้าใจเหตุผล และที่มาของมาตรฐานทางบัญชีที่ถูกกำหนดไว้ว่ามีประโยชน์อย่างไร
องค์ประกอบแรก คือ การเชื่อมโยงเพื่อจัดการช่องว่างระหว่างทฤษฎี และการปฎิบัติ (ช่องว่างที่เป็นปัญหาของการจัดการศึกษาที่สำคัญ) โดยนำเอาทฤษฎีและความรู้ต่าง ๆ ในด้านบัญชี มาเป็นฐานในการเชื่อมโยง ซึ่งได้ใช้นวตกรรมในการเรียนรู้ ผสานกับการสืบต้นสาเหตุในกิจกรรมที่บัญชีมีความเกี่ยวข้องโดยอาศัยกระบวนการ PBL; Problem Based Learning ซึ่งให้นักศึกษา "สวมบทบาท" ที่แตกต่างกันในกระบวนการทางธุรกิจ เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ (ซึ่งใช้ Framework FIRDE ของ Stanley and Marsden จาก QUT; Queenland University of Technology ที่ตีพิมพ์ไว้ในปี 2012 เป็น Framework) (ดูผลงานของ Stanley and Marsden ได้ที่นี่) FIRDE คือ
- Forensic case(สืบสวนจากหลักฐาน; รากศัพท์มาจาก การสืบสวนทางนิติเวช; ในที่นี้คือ ร่องรอยปละหลักฐานซึ่งเป็นที่มาของการบันทึกบัญชี)
- Identify questionable accounting treatment; ระบุคำถามที่เป็นไปได้เพื่อหาเหตุจากกระบวนการบันทึกบัญชี
- Research applicable accounting standards and principles ให้ค้นคว้าเชื่อมโยงกับมาตรฐานทางบัญชี และหลักการทางบัญชี
- Make a collaborative Evaluation and Decision รวบรวมสมมุติฐาน และระบุหลักฐานที่ค้นคว้าอย่างชัดเจน
- Execute ดำเนินการตามกระบวนการสอบสวนและยืนยัน ด้วยการสื่อสาร, หรือกำหนดการตัดสินใจจากมาตรฐานบัญชีที่ค้นคว้าได้ และหาทางแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น
เมื่อปฏิบัติตาม Framwork แล้ว นักศึกษาจะได้รับประสบการณ์ และเชื่อมโยงทฤษฎีไปสู่การปฏิบัติ โดยต้องประสานกับมุมมองด้านธุรกิจในมุมมองอื่นๆ เช่น สมดุลด้านการเงิน, จริยธรรมด้านวิชาชีพ ซึ่งนักศึกษาศึกษากิจกรรมเหล่านี้จากรายงานทางธุรกิจและก่อให้เกิดความเข้าใจที่มากขึ้น โดยให้น้ำหนักในการประเมินใน Capstone Unit นี้ 20% จากคะแนนทั้งหมด
ความเห็นจากผู้แปล การใช้ Framework นี้ ทำให้นักศึกษามีการคิดเป็นกระบวนการ เข้าใจสถานกา่รณ์ เชื่อมโยงกับทฤษฎีได้ดี ซึ่งนักศึกษาจะได้ผนวกแนวคิดนี้กับองค์ประกอบอื่นๆ อีก 3 องค์ประกอบรวมกันต่อไป ซึ่งทำให้นักศึกษาประติดประต่อจิ๊กซอว์ความรนู้ กับจิ๊กซอว์ของการปฏิบัติตามมาตรฐานทางบัญชี เข้าใจเหตุผล และที่มาของมาตรฐานทางบัญชีที่ถูกกำหนดไว้ว่ามีประโยชน์อย่างไร
องค์ประกอบที่สอง คือ ประสบการณ์จาก Software Simulation ซึ่งในที่นี้ Deakin Business School ได้เลือกใช้ MonsoonSIM ซึ่งในบทความระบุว่าเป็น Enterprise Resources Planning Business Simulation ชื่อว่า MonsoonSIM เป็นเครื่องมือ และนำมาใช้ใน Capstone Unit ที่พัฒนามาตั้งแต่ปี 2016 และปรับใช้เรื่องมาจนเป็นบทความเชิงวิชาการนี้ในปี 2021 ซึ่งอธิบายไว้ว่า
นักศึกษาทดลองประกอบการจาก MonsoonSIM Simulation ซึ่งสร้างสภาพแวดล้อมด้านการเรียนรู้ และเชื่อมโยงความเข้าใจ เพื่อพัฒนา Professional Skill หรือทักษะที่มืออาชีพพึงมีเช่น การสื่อสาร, การแก้ไขปัญหาที่ซับซ้อน และการทำงานร่วมกันเป็นทึม ในระหว่างประสบการณ์จาก Simulation ซึ่งต้องแลกเปลี่ยนข้อมูล ความเห็นซึ่งเป็นโอกาสให้ได้ฝึกฝน (ซึ่งในการเรียนการสอนแบบเดิม ๆ นั้นไม่สามารถทำได้ และต้องมะโนเอาเอง; ผู้แปล) โดย MonsoonSIM Environment สร้างการทำงานร่วมกันเป็นทีม โดยผสานเอาความรู้ด้านการบัญชี และความรู้ในการทำธุรกิจมารวมกัน ผ่าน 14 โมดูลใน MonsoonSIM (เช่น การเงิน, การตลาด, การจัดการคลังสินค้า, การจัดซื้อ เป็นต้น) ซึ่งสร้างให้การเรียนรู้แบบ Scaffold เกิดขึ้นได้จากบริบทที่ถูกออกแบบมาโดย Simulation และความซับซ้อนจากหลายตัวแปลในการตัดสินใจ ซึ่งจะแตกต่างกันออกไปในรูปแบบ,ข้อจำกัด และจำนวนโมดูล (ซึ่งสะท้อนความสั้นยาวของ Supply Chain และความซับซ้อนในกระบวนการทางธุรกิจ; ผู้แปล) ในแต่ละสัปดาห์ที่เปลี่ยนไป นักศึกษาจะได้พัฒนาทักษะในการบริหารจัดการที่สายวิชาบัญชีต้องไปเกี่ยวข้องในการทำงานจริง และมีข้อมูลต่าง ๆ เพื่อเพิ่มประสบการณ์ให้กับนักศึกษาและเชื่อมโยงกับทฤษฎีต่าง ๆ ที่เรียนมา ซึ่ง MonsoonSIM Simulation นั้นทำให้นักศึกษาเรียนรู้จากการทดลองทำ (ผิดและถูกเพื่อเข้าใจบริบทในการตัดสินใจ การวัดผลประกอบกัน; ผู้แปล) ซึ่งเต็มไปด้วย VUCA; Volatility (ตวามฝันผวน), Uncertainty (ความไม่แน่นอน), Complexity (ความซับซ้อน) และ Ambuhuity (ความฉงนคลุมเครือ) บทความส่วนนี้มากจากบทความทางวิชาการของ Leong and Ma 2019 ซึ่งท่านอ่านประกอบได้ที่นี่; Using Experiential Learning Theory to Improve Teaching and Learning in Higher Education)
นักศึกษาทดลองประกอบการจาก MonsoonSIM Simulation ซึ่งสร้างสภาพแวดล้อมด้านการเรียนรู้ และเชื่อมโยงความเข้าใจ เพื่อพัฒนา Professional Skill หรือทักษะที่มืออาชีพพึงมีเช่น การสื่อสาร, การแก้ไขปัญหาที่ซับซ้อน และการทำงานร่วมกันเป็นทึม ในระหว่างประสบการณ์จาก Simulation ซึ่งต้องแลกเปลี่ยนข้อมูล ความเห็นซึ่งเป็นโอกาสให้ได้ฝึกฝน (ซึ่งในการเรียนการสอนแบบเดิม ๆ นั้นไม่สามารถทำได้ และต้องมะโนเอาเอง; ผู้แปล) โดย MonsoonSIM Environment สร้างการทำงานร่วมกันเป็นทีม โดยผสานเอาความรู้ด้านการบัญชี และความรู้ในการทำธุรกิจมารวมกัน ผ่าน 14 โมดูลใน MonsoonSIM (เช่น การเงิน, การตลาด, การจัดการคลังสินค้า, การจัดซื้อ เป็นต้น) ซึ่งสร้างให้การเรียนรู้แบบ Scaffold เกิดขึ้นได้จากบริบทที่ถูกออกแบบมาโดย Simulation และความซับซ้อนจากหลายตัวแปลในการตัดสินใจ ซึ่งจะแตกต่างกันออกไปในรูปแบบ,ข้อจำกัด และจำนวนโมดูล (ซึ่งสะท้อนความสั้นยาวของ Supply Chain และความซับซ้อนในกระบวนการทางธุรกิจ; ผู้แปล) ในแต่ละสัปดาห์ที่เปลี่ยนไป นักศึกษาจะได้พัฒนาทักษะในการบริหารจัดการที่สายวิชาบัญชีต้องไปเกี่ยวข้องในการทำงานจริง และมีข้อมูลต่าง ๆ เพื่อเพิ่มประสบการณ์ให้กับนักศึกษาและเชื่อมโยงกับทฤษฎีต่าง ๆ ที่เรียนมา ซึ่ง MonsoonSIM Simulation นั้นทำให้นักศึกษาเรียนรู้จากการทดลองทำ (ผิดและถูกเพื่อเข้าใจบริบทในการตัดสินใจ การวัดผลประกอบกัน; ผู้แปล) ซึ่งเต็มไปด้วย VUCA; Volatility (ตวามฝันผวน), Uncertainty (ความไม่แน่นอน), Complexity (ความซับซ้อน) และ Ambuhuity (ความฉงนคลุมเครือ) บทความส่วนนี้มากจากบทความทางวิชาการของ Leong and Ma 2019 ซึ่งท่านอ่านประกอบได้ที่นี่; Using Experiential Learning Theory to Improve Teaching and Learning in Higher Education)
และที่ Kolb,1984 กล่าวไว้ใน Experiential Learning: Experience As The Source Of Learning And Development ว่า Simulation ช่่วยสนับสนุนให้เกิดการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ประจักษ์(;ผู้แปล) ซึ่งทีมผู้เขียนบทความให้การสนับสนุนในสาระดังกล่าว ว่าสถานการณ์จาก Simulation ช่วยส่งเสริมให้เกิดความเข้าใจถึงข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับบัญชี และควบรวมไปถึงการสร้างแนวคิดที่ซับซ้อนจากหลายตัวแปรเพื่อประกอบการตัดสินใจได้เป็นอย่างดี ทั้งในส่วนที่เป็น Reflective Observation และ Abstract Concept ซึ่งสามารถประยุกต์ไปใช้กับหน้าที่ในอนาคตได้ (Active Experimental)
หนึ่งในข้อดีของ MonsoonSIM Simulation คือ นักศึกษาจะได้ทำกิจการค้าโดยขายสินค้าชนิดเดียวกันและต้องแข่งขันกับคู่แข่งอื่นๆ (ซึ่งก็คือทีมนักศึกษาอื่น ๆ ในชั้นเรียนเดียวกัน หรือลูกจ้างในการอบรม) ซึ่งจะต้องทั้งร่วมมือ และแข่งขันไปในเวลาเดียวกัน โดยนักศึกษาเรียนรู้ที่จะประสานความร่วมมือ เจรจาต่อรองกับสมาชิกในทีมเพื่อจัดการทรัพยากร และเรียนรู้กระบวนการทำงานระหว่างกัน (Cross Functional) เพื่อนำไปสู่ชัยชนะของทีม ในบางช่วงเวลาาระหว่างที่ Simulation หยุด (เพื่อให้คิด วิเคราะห์ ปรับแผน หรือพัก) ผู้สอนจะนำเสนอข้อมูลเพื่อเปรียบเทียบโดยใช้ข้อมูลตัวเลขและกราฟต่าง ๆ ใน Simulation ซึงเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้คิดคำนึงถึงการตัดสินใจของตนและทีม และรับรู้ถึงผลทั้งเชิงลบและบวกที่เกิดขึ้นจากการตัดสินใจในสภาพการณ์นั้น ๆ เข้าใจถึงหลักของสาเหตุ และผลลัพท์ ความเหมือนและความแตกต่างระหว่างทีมของตนและคู่แข่ง (Milohnic & Licul,2018 Entrepreneurial management and education: Experiences in the application of business simulations. Informatologia) และช่วยกระตุ้น ส่งเสริม ทีมให้ดำเนินธุรกิจให้ดีที่สุด และที่สำคัญไปกว่านั้น คือ MonsoonSIM Simulation สามารถวร้างการวัดผลได้ในแต่ละสัปดาห์ โดยมีตัวชีั้วัดที่ควบคุมทั้งตัวชี้วัดด้านการเงิน และตัวชี้วัดอื่น ๆ (เช่น คุณภาพในการบริหารจัดการในเรื่องต่างๆ) ซึ่งสร้างแรงจูงใจให้กับนักศึกษาอย่างครอบคลุมเนื้อหาและประสบการณ์, การสร้างสมดุลในการทำงานระหว่างกัน และสร้างการตัดสินใจบนการทำงานที่เปลี่ยนแปลงได้เป็นอย่างดี
หนึ่งในข้อดีของ MonsoonSIM Simulation คือ นักศึกษาจะได้ทำกิจการค้าโดยขายสินค้าชนิดเดียวกันและต้องแข่งขันกับคู่แข่งอื่นๆ (ซึ่งก็คือทีมนักศึกษาอื่น ๆ ในชั้นเรียนเดียวกัน หรือลูกจ้างในการอบรม) ซึ่งจะต้องทั้งร่วมมือ และแข่งขันไปในเวลาเดียวกัน โดยนักศึกษาเรียนรู้ที่จะประสานความร่วมมือ เจรจาต่อรองกับสมาชิกในทีมเพื่อจัดการทรัพยากร และเรียนรู้กระบวนการทำงานระหว่างกัน (Cross Functional) เพื่อนำไปสู่ชัยชนะของทีม ในบางช่วงเวลาาระหว่างที่ Simulation หยุด (เพื่อให้คิด วิเคราะห์ ปรับแผน หรือพัก) ผู้สอนจะนำเสนอข้อมูลเพื่อเปรียบเทียบโดยใช้ข้อมูลตัวเลขและกราฟต่าง ๆ ใน Simulation ซึงเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้คิดคำนึงถึงการตัดสินใจของตนและทีม และรับรู้ถึงผลทั้งเชิงลบและบวกที่เกิดขึ้นจากการตัดสินใจในสภาพการณ์นั้น ๆ เข้าใจถึงหลักของสาเหตุ และผลลัพท์ ความเหมือนและความแตกต่างระหว่างทีมของตนและคู่แข่ง (Milohnic & Licul,2018 Entrepreneurial management and education: Experiences in the application of business simulations. Informatologia) และช่วยกระตุ้น ส่งเสริม ทีมให้ดำเนินธุรกิจให้ดีที่สุด และที่สำคัญไปกว่านั้น คือ MonsoonSIM Simulation สามารถวร้างการวัดผลได้ในแต่ละสัปดาห์ โดยมีตัวชีั้วัดที่ควบคุมทั้งตัวชี้วัดด้านการเงิน และตัวชี้วัดอื่น ๆ (เช่น คุณภาพในการบริหารจัดการในเรื่องต่างๆ) ซึ่งสร้างแรงจูงใจให้กับนักศึกษาอย่างครอบคลุมเนื้อหาและประสบการณ์, การสร้างสมดุลในการทำงานระหว่างกัน และสร้างการตัดสินใจบนการทำงานที่เปลี่ยนแปลงได้เป็นอย่างดี
ทีมผู้เขียนได้สรุปองค์ประกอบที่ 2 ว่า การใช้ MonsoonSIM Simulation นี้ กระตุ้นให้นักศึกษาได้รับการพัฒนาทักษะที่จำเป็น เช่น การสื่อสาร, การทำงานเป็นทีม, การปรับเปลี่ยน ปรับใช้ความรู้และกิจกรรมตามสถานการณ์ และการแก้ปัญหาที่ซับซ้อนและคาบเดี่ยวกับ (ในหลายส่วนงาน) ซึ่งสะท้อนความใกล้เคียงความเป็นจริง ซึ่งได้ช่วยส่งเสรมิความเข้าใจและความคาดหวังในการทำงานในองค์กร และการปรับเปลี่ยนที่เกิดขึ้นที่จะต้องประสบพบเจอในการทำงานจริงในอนาคต (Schwering,2015 Optimizing learning in project-based capstone courses. Academy of Educational _Leadership Journal, 19, 90-104) ทีมผู้เขียนและทีมผู้สอนได้ได้ออกแบบกระบวนการเพื่อให้นักศึกษาได้แสดงออกถึงแนวคิดเชิงกลยุทธ์, กระบวนการตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลทางด้านบัญชีมาอธิบายถึงคุณภาพและและผลกระทบจากการบริหารงานในทางธุรกิจ โดยการนำเสนอแบบมืออาชีพ, การนำเสนอปากเปล่าเพื่ออธิบายแนวคิด และกลยุทธ์ รวมไปถึงผลลัพท์ที่เกิดขึ้นต่อกลยุทธ์และกระบวนการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องซึ่งสร้างผลลัพท์ที่แตกต่างออกไป ซึ่งน้ำหนักในส่วนนี้ให้เป็นสัดส่วน 30% ของคะแนนทั้งหมดใน Capstone Unit นี้
| ตัวอย่างการวางแผนในวิชา MAA310 Accounting and Society โดย Dr.Edwin Lim ซึ่่งท่านจะเห็นแผนการผสมผสาน MonsoonSIM ในสัปดาห์ที่ 3-7 ของวิชานี้ ซึ่งวิชานี้เป็นส่วนหนึ่งของ Deakin Business School |
ภาคเสริมจากบทความ: Dr.Edwin Lim หนึ่งในทีมผู้พัฒนา Capstone Unit ซึ่งเป็นที่มาของบทความนี้ ได้เคยนำเสนอในช่วงปี 2017 ซึ่งอยู่ระหว่างการพัฒนา Capstone โดยเชือว่า Edwin Lim ได้ใช้วิชา MAA310 Accounting and Society ซึ่งในวิชานี้ใช้เวลา 4 สัปดาห์กับประสบการณ์ผ่าน MonsoonSIM Simulation ซึ่งนำมาเพื่อเป็น Reference แก่ท่านผู้อ่าน เพื่อความเข้าใจที่เพิ่มสูงขึ้น และเชื่อว่า ผลจาก MAA310 นี้เอง ที่ Edwin Lim และทีมนำไปพัฒนา Capstone Unit ของ Bachelor of Commerce และเป็นที่มาของบทความนี้ซึ่งเผยแพร่ในปี 2021 ที่ ASCILITE 2021
องค์ประกอบที่ 3 ของ Capstone Unit คือ Career Prepareness and Employment Skills (สัปดาห์ที่ 7) มุ่งเน้นที่การเตรียมความพร้อมในการสมัครงาน และทักษะจำเป็นที่ใช้ในการสัมภาษณ์งาน ซึ่งเป็นช่องว่างที่ห่าง ยาว และดูยากที่นักศึกษาต้องเผชิญในชีวิตจริง การเตรียมความพร้อมและให้โอกาสในการเตรียมตัว เตรียมใจ เตรียมข้อมูล และมีประสบการณ์เหล่านี้ควรเสริมสร้างให้เกิดขึ้นในหลักสูตรทุกชั้นปีและในทุกระดับของการศึกษา เพื่อช่วยให้นักศึกษามีความพร้อมมากขึ้นและโอกาสในการรับเลือกเข้าทำงานมากขึ้น (Thirunavularasu wt al, 2020 และ Jackson & Tomlinson,2020) ด้วยเหตุผลดังกล่าวนี้ทีมผู้พัฒนาหลักสูตรได้รวบรวมเอาผู้ออกแบบการเรียนจากทั่วทั้งมหาวิทยาลัยมาร่วมในการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ โดยจำลอง Interactive Seminar ให้กับนักศึกษาได้ผ่านประสบการณ์ในการสัมภาษณ์ และเทคนิคในการนำเสนอ โดยออกแบบคำถามที่จะใช้ในการสัมภาษณ์ เพื่อสร้างให้นักศึกษาได้เตรียมตัว โดยนำเสนอตัวเองในฐานะ Personal Brand และได้แสดงออกซึ่งความสามารถและความถนัดของตนตามหลัก STAR Framework (Situationm, Task, Action, Result) ซึ่งนักศึกษาได้เข้าร่วมใน Online Interview และบันทึกไว้โดยใช้ Montage Software ซึ่งอยู่บนระบบ Cloud และ นักศึกษาได้บันทึกการนำเสนอ โดบจำลองว่าจะต้องเข้าสู่กระบวนการสรรกานักบัญชีมืออาชีพ ด้วยกระบวนการที่ถูกออกแบบนี้ทำให้นักศึกษาได้เพิ่มพูนทักษะที่จำเป็น มีความพร้อม และสื่อสารได้มีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น ซึ่งคะแนนในส่วนนี้มีน้ำหนัก 20% ของคะแนนทั้งหมดใน Capstone Unit
เดินทางมาถึงองค์ประกอบสุดท้าย คือ Case Study หรือการใช้กรณีศึกษา ซึ่งอยู่ในสัปดาห์ที่ 8-11 โดยให้นักศึกษาต้องศึกษาในกรณีตีวอย่างที่น่าสนใจ 3 กรณี แบบเป็นงานส่วนตัว แบบทีม และแบบแบ่งปันในชั้นเรียน ซึ่งทีมผู้สอนได้เลือกเอากรณีศึกษาที่เจาะจงลงไปในกลุ่มปัญหา อาทิ ด้านบัญชี, ด้านจริยธรรม, ด้ารการจัดการที่ไม่โปร่งใส, ด้านสังคม และสิ่งแวดล้อม ซึ่งกรณีซึกษาเหล่านี้ช่วยให้นักศคกษาไดเคิดวิคราะห์และนำบทเรียนทีได้ไปใช้ในการวิเคราะห์ปัญหาที่จะเกิดขึ้นในอนาคต (Bonoma, 1898) กระบวนการเรียนรู้ในเชิงลึก, การอภิปราย, การแสดงทรรศนะที่แตกต่างกันไป และการแลกเปลี่ยนทรรศนะในชั้นเรียนช่วยให้เกิดความกระจ่าง และครอบคลุมการเรียนรู้ด้วยกระบวนการ Evidence-Base Analysis หรือการใช้หลักฐานในการวิเคราะห์ ส่งผลให้สามารถสร้างโซลูชั่นในการแก้ปัญหาให้กับองค์กรได้ (Cullen, Richardson & O'Brien, 2004) ซึ่งกิจกรรมเหล่านี้เพิ่มขีดความสามารถให้กับนักศึกษา และมีน้ำหนัก 30% จากคะแนนทั้งหมด
กระบวนการปรับเปลี่ยน Capstone นี้ เพิ่มต้นเป็นครั้งแรกในระบบสามภาคเรียนตั้งแต่ปี 2017 และใช้ต่อเรื่องมาในทุก ๆ ไตรภาคของการศึกษา โดยจัดให้มีการสัมมนาในวิทยาลัย โดยจัดอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้พร้อมเพื่อให้ผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นเกิดขึ้นจากการประสานความร่วมือและทรัพยากรเพื่อเอาชนะข้อจำกัดต่าง ๆ และสร้าง Active Learning การสัมมนาผ่านระบบ Online Conference ต่าง ๆ เช่น Ultra และ Zoom ใช้่ Breakout เพื่อสร้างกลุ่มอภิปรายย่อย ๆ ขึ้น ซึ่งเป็นวิธีที่เลือกใช้ในช่วงที่เกิดการระบาดของโรคทางเดินหายใจในช่วง ปลายปี 2019 - 2021 (บทความนี้เสนอในช่วงเดือนพฤศจิกายน 2564) ซึ่งการนำเอา MonsoonSIM Simulation นี้เป็นเครื่องมือในสัปดาห์ที่ 4-6 ก็ได้รับประเมินที่ดี และสร้างความก้าวหน้าในทางทักษะให้กับนักศึกษา โปรดอ่านจดหมายแนบด้านล่างประกอบ
กระบวนการปรับเปลี่ยน Capstone นี้ เพิ่มต้นเป็นครั้งแรกในระบบสามภาคเรียนตั้งแต่ปี 2017 และใช้ต่อเรื่องมาในทุก ๆ ไตรภาคของการศึกษา โดยจัดให้มีการสัมมนาในวิทยาลัย โดยจัดอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้พร้อมเพื่อให้ผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นเกิดขึ้นจากการประสานความร่วมือและทรัพยากรเพื่อเอาชนะข้อจำกัดต่าง ๆ และสร้าง Active Learning การสัมมนาผ่านระบบ Online Conference ต่าง ๆ เช่น Ultra และ Zoom ใช้่ Breakout เพื่อสร้างกลุ่มอภิปรายย่อย ๆ ขึ้น ซึ่งเป็นวิธีที่เลือกใช้ในช่วงที่เกิดการระบาดของโรคทางเดินหายใจในช่วง ปลายปี 2019 - 2021 (บทความนี้เสนอในช่วงเดือนพฤศจิกายน 2564) ซึ่งการนำเอา MonsoonSIM Simulation นี้เป็นเครื่องมือในสัปดาห์ที่ 4-6 ก็ได้รับประเมินที่ดี และสร้างความก้าวหน้าในทางทักษะให้กับนักศึกษา โปรดอ่านจดหมายแนบด้านล่างประกอบ
| จดหมายจาก Dr.Christine Contessetto, Director of Teaching - Department of Accounting, Deakin University ไปยัง Abdy Taminsyah, President, CEO ของ MonsoonSIM |
ผลลัพท์ และข้อชวนปภิปราย
ความท้าทาย
การดำเนินการ Capstone Unit นี้มีความท้าทายหลายประการ เช่น กลุ่มผู้เรียนประกอบด้วย นักศึกษาจากหลายวิทยาเขต และมีทั้งส่วนที่เป็นนักศึกษาที่เช้าร่วมผ่านระบบออนไลน์ส่วนหนึ่ง, นักศึกษาที่มีหลากหลายกลุ่ม เช่น กลุ่มที่หยุดพักการเรียนไปเป็นช่วงๆ และมีความแตกต่างทางอายุของผู้เรียน การจะสร้างให้เกิดประสบการณ์ในระดับเดียวกันเป็นไปได้ยาก เช่น การระบุเวลาในการเข้าร่วมในระบบออนไลน์ ซึ่งนักศึกษาต่างมีข้อจำกัด และอยู่ในคนละเขตช่วงเวลา สำหรับกลุ่มนักศึกษาที่อายุมากกว่านั้น ก็จะมีประสบการณ์จากการทำงานมาประกอบซึ่งแตกต่างจากนักศึกษาโดยทั่วไป ซึ่งบางกระบวนการนั้นได้รับความสนใจและมีคุณค่าไม่มากเท่ากับนักศึกษาที่ยังมีประสบการณ์น้อยหากเปรียบเทียบกัน แต่ก็มีส่วนดีที่พบว่าเกิดการแลกเปลี่ยนทักษะ ประสบการณ์ระหว่างกันซึ่งเป็นแนวทางที่น่าสนใจ
ผลประทบที่เกิดขึ้น
นักศึกษากว่า 2500 คนที่ผ่าน Capstone Unit นี้ (ตั้งแต่ปี 2017-2021) ได้สะท้อนให้เห็นว่า Capstone Unit (วิชาประมวล วิชาสัมมนา) ได้สร้างให้เกิดประสบการณ์ที่ใกล้เคียงโลกจริงหลังจบการศึกษา ซึ่งนักศึกษาจะต้องประสานงาน ประสานความรู้ และประสบการณ์และสร้างพลวัตรในการขับเคลื่อนงานที่ได้นับมอบหมายในฐานะสมาชิกขององค์กร หรือทีมใด ๆ การใช้ Off-the-shelf industry-releveant cloud-based simulation software (;MonsoonSIM) ช่วยผลักดันให้เกิดความเข้าใจในกิจกรรมที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน และมีความพร้อม ความสะดวก ลดขั้นตอนในการเตรียมการ การสนับสนุน และการใช้งานจากเดิมที่ยุ่งยากให้ง่ายขึ้น
ผู้สอนสามารถเข้าใจปัญหาที่เกิดขึ้นในระหว่างการเรียนของนักศึกษาได้ง่ายขึ้นจากมุมมองต่าง ๆ และสามารถที่จะหารือกับทีมผู้สอน และช่วยเหลือนักศึกษาและทีม สร้างชั้นเรียนที่มีความหมาย และนำส่งใจความสำคัญ สาระสำคัญได้โดยไม่ต้องใช้ทีมผู้สอนจำนวนมากในการอำนวยการในชั้นเรียน เมื่อจบระบบไตรภาตและแบบประเมินที่นักศึกษาส่งกลับมาบ่งชี้ชัดเจนว่า สร้างความพึงพอใจได้มากกว่า การเรียนการสอนแบบทั่วไปโดยเฉลี่ยนในวิทยาลัย ซึ่งนักศึกษาให้ความเห็นในทางเลือกที่ระบุว่า เกิดความถึงพอใจกับการเรียนในหน่วยกิตนี้ มากกว่า 90%
บทความของ Prosser & Trigwell, 1999 ระบุไว้ว่า การสร้างให้นักศึกษาสามารถแก้ปัญหาที่วับซ้อนได้ โดยอาศัยเทคโนโลยีในการเรียนรู้่มาช่วยสร้างบรรยากาศในการเรียน และสร้างกิจกรรมช่วยพัฒนาทักษะที่จำเป็นให้กับนักศึกษากลุ่มใหญ่ๆ ได้ดี ทว่าจะต้องพึงระลึกไว้ที่จะหลีกเลี่ยงความพยายามยัดเยียดความรู้ที่เกิดความจำเป็น จะได้ผลดีอย่างมาก ซึ่งนักศึกษาก็ให้ความเห็นที่สอดคล้องกันกับแนวคิดนี้เช่นกัน โดยมีตัวอย่างที่น่าสนใจดังนี้
ความท้าทาย
การดำเนินการ Capstone Unit นี้มีความท้าทายหลายประการ เช่น กลุ่มผู้เรียนประกอบด้วย นักศึกษาจากหลายวิทยาเขต และมีทั้งส่วนที่เป็นนักศึกษาที่เช้าร่วมผ่านระบบออนไลน์ส่วนหนึ่ง, นักศึกษาที่มีหลากหลายกลุ่ม เช่น กลุ่มที่หยุดพักการเรียนไปเป็นช่วงๆ และมีความแตกต่างทางอายุของผู้เรียน การจะสร้างให้เกิดประสบการณ์ในระดับเดียวกันเป็นไปได้ยาก เช่น การระบุเวลาในการเข้าร่วมในระบบออนไลน์ ซึ่งนักศึกษาต่างมีข้อจำกัด และอยู่ในคนละเขตช่วงเวลา สำหรับกลุ่มนักศึกษาที่อายุมากกว่านั้น ก็จะมีประสบการณ์จากการทำงานมาประกอบซึ่งแตกต่างจากนักศึกษาโดยทั่วไป ซึ่งบางกระบวนการนั้นได้รับความสนใจและมีคุณค่าไม่มากเท่ากับนักศึกษาที่ยังมีประสบการณ์น้อยหากเปรียบเทียบกัน แต่ก็มีส่วนดีที่พบว่าเกิดการแลกเปลี่ยนทักษะ ประสบการณ์ระหว่างกันซึ่งเป็นแนวทางที่น่าสนใจ
ผลประทบที่เกิดขึ้น
นักศึกษากว่า 2500 คนที่ผ่าน Capstone Unit นี้ (ตั้งแต่ปี 2017-2021) ได้สะท้อนให้เห็นว่า Capstone Unit (วิชาประมวล วิชาสัมมนา) ได้สร้างให้เกิดประสบการณ์ที่ใกล้เคียงโลกจริงหลังจบการศึกษา ซึ่งนักศึกษาจะต้องประสานงาน ประสานความรู้ และประสบการณ์และสร้างพลวัตรในการขับเคลื่อนงานที่ได้นับมอบหมายในฐานะสมาชิกขององค์กร หรือทีมใด ๆ การใช้ Off-the-shelf industry-releveant cloud-based simulation software (;MonsoonSIM) ช่วยผลักดันให้เกิดความเข้าใจในกิจกรรมที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน และมีความพร้อม ความสะดวก ลดขั้นตอนในการเตรียมการ การสนับสนุน และการใช้งานจากเดิมที่ยุ่งยากให้ง่ายขึ้น
ผู้สอนสามารถเข้าใจปัญหาที่เกิดขึ้นในระหว่างการเรียนของนักศึกษาได้ง่ายขึ้นจากมุมมองต่าง ๆ และสามารถที่จะหารือกับทีมผู้สอน และช่วยเหลือนักศึกษาและทีม สร้างชั้นเรียนที่มีความหมาย และนำส่งใจความสำคัญ สาระสำคัญได้โดยไม่ต้องใช้ทีมผู้สอนจำนวนมากในการอำนวยการในชั้นเรียน เมื่อจบระบบไตรภาตและแบบประเมินที่นักศึกษาส่งกลับมาบ่งชี้ชัดเจนว่า สร้างความพึงพอใจได้มากกว่า การเรียนการสอนแบบทั่วไปโดยเฉลี่ยนในวิทยาลัย ซึ่งนักศึกษาให้ความเห็นในทางเลือกที่ระบุว่า เกิดความถึงพอใจกับการเรียนในหน่วยกิตนี้ มากกว่า 90%
บทความของ Prosser & Trigwell, 1999 ระบุไว้ว่า การสร้างให้นักศึกษาสามารถแก้ปัญหาที่วับซ้อนได้ โดยอาศัยเทคโนโลยีในการเรียนรู้่มาช่วยสร้างบรรยากาศในการเรียน และสร้างกิจกรรมช่วยพัฒนาทักษะที่จำเป็นให้กับนักศึกษากลุ่มใหญ่ๆ ได้ดี ทว่าจะต้องพึงระลึกไว้ที่จะหลีกเลี่ยงความพยายามยัดเยียดความรู้ที่เกิดความจำเป็น จะได้ผลดีอย่างมาก ซึ่งนักศึกษาก็ให้ความเห็นที่สอดคล้องกันกับแนวคิดนี้เช่นกัน โดยมีตัวอย่างที่น่าสนใจดังนี้
"วิชานี้พร้อมด้วยเครื่องมือเหล่านี้ (MonsoonSIM และกระบวนการอื่่นๆ; ผู้แปล) ได้ช่วยให้ฉันเกิดความเข้าใจได้อย่างดีในการเป็นนักบัญชีมืออาชีพ และชjวยให้เกิดความเข้าใจในขอบข่ายของงานที่เกี่ยวข้อง วิชาและกระบวนการในวิชานี้สอนให้ฉันเข้าใจ ตระหนักถึงความสำคัญของการทำงานร่วมกันเป็นทีม การสื่อสาร การตัดสินใจในปัญหาสำคัญ ๆ และนำไปใช้ในโลกบัญชีจริงในฐานะนักบัญชีได้ ซึ่งฉันมีความพึงพอใจอย่างมาก" ได้รับการอนุญาตจากเจ้าของ feedback แล้วก่อนนำมาใช้ในบทความนี้
ตารางประเมิน เปรียบเทียบในปี 2017 (เมื่อริเริ่ม Capstone Unit ในรูปแบบใหม่) กับปี 2020 ปีที่ 4 ที่ใช้รูปแบบนี้ ในประเด็นการรับรู้ถึงความสามารถในการทำงานเป็นทีม, การแก้ปัญหา ซึ่งนำไปสู่ บุคลากรที่มีคุรค่า โดยวิชาสัมมนานี้อยู่ภายใต้วัตถุประสงค์ที่ว่า จะเพิ่มขีดความสามารถในการทำงานในฐานะ staff ขององค์กร, ความเป็นมืออาชีพ และทักศะในเชิงเทคนิค สำหรับนักศึกษาวิชาบัญชีที่มีความพร้อมสูงในการทำงาน แบบประเมินระบุว่า
- เกิดการพัฒนาในทักษะพื้นฐาน อยู่ในเกณฑ์ดีมาก (มากกว่า 80%) คือ 84% (2017) และเพิ่มขึ้นเป็น 85.4% ในปี 2020
- ความสามารถในทำงานโดยประสานงานความร่วมกันกับผู้อื่น งานอื่น อยู่ในเกณฑ์ดี (70-79%) คือ 71% (2017) และเพิ่มเป็น 79.6% ในปี 2020
- ความสามารถในการแก้ปัญหา อยู่ในเกณฑ์ดีมาก (มากกว่า 80%) คือ 82% (2017) และเพิ่มขึ้นเป็น 85.4% ในปี 2020
- ความสามารถในการผสานความรู้ที่หลากหลายเข้ามาร่วมกัน อยู่ในเกณฑ์ดีมาก (มากกว่า 80% คือ 84% (2017) และ 83.3% ในปี 2020
บทสรุป
การศึกษาในสายวิชาบัญชีควรได้รับการสนับสนุนอย่างเป็นระบบ ต่อเนื่องและแข็งแรง ที่จะพัฒนาผู้ที่สำเร็จการศึกษาในสายวิชาชีพซึ่งสามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพมีศักยาภาพที่จะตอบสนองต่อความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่าง ๆ สามารถที่จะใช้ และประยุกต์ใช้ความรู้ในเชิงทฤษฎีนำไปสู่การทำงานในปัจจัย สภาพแวดล้อมและข้อจำกัดจริง, สามารถสร้างคุณค่าเพิ่ม, ปรับเปลี่ยนเพื่อตอบสนองต่อความท้าทายต่าง ๆ เพื่อเปลี่ยนปัญหาให้กลายเป็นโอกาส ซึ่งเป็นความเห็นอันมรค่าและหลากหลายจกาผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่าง ๆ ที่ได้รวบรวมมาเพื่อทำงานวิจัยนี้ ทีมของเราได้ปรับเปลี่ยนวิชาสัมมนา (Capstone Unit) โดยเพิ่ม Digital Technology ลงไปในกระบวนการเรียนรู้และการบ่มเพาะประสบการณ์ให้กับนักศึกษา ช่วยให้นักศึกษาผสานความรู้ และความรู้ของตนไปใช้งานได้จริง ในบทความนี้เราได้เสนอปัจจัยสำคัญในกระบวนการ และต้องการให้ประชาคมใน ASCILITE ได้รับทราบถึงกระบวนการ และการออกแบบ Capstone ของเราเพื่อประโยชน์แก่เยาวชนชองรา และเราได้ปรับเปลี่ยน ใช้งาน Framework ต่าง ๆ เพื่อให้สอดคล้องกับเป้าหมายของเรา
ความเห็นจากผู้แปล และในฐานะของ MonsoonSIM Facilitator ในประเทศไทย
การศึกษาในสายวิชาบัญชีควรได้รับการสนับสนุนอย่างเป็นระบบ ต่อเนื่องและแข็งแรง ที่จะพัฒนาผู้ที่สำเร็จการศึกษาในสายวิชาชีพซึ่งสามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพมีศักยาภาพที่จะตอบสนองต่อความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่าง ๆ สามารถที่จะใช้ และประยุกต์ใช้ความรู้ในเชิงทฤษฎีนำไปสู่การทำงานในปัจจัย สภาพแวดล้อมและข้อจำกัดจริง, สามารถสร้างคุณค่าเพิ่ม, ปรับเปลี่ยนเพื่อตอบสนองต่อความท้าทายต่าง ๆ เพื่อเปลี่ยนปัญหาให้กลายเป็นโอกาส ซึ่งเป็นความเห็นอันมรค่าและหลากหลายจกาผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่าง ๆ ที่ได้รวบรวมมาเพื่อทำงานวิจัยนี้ ทีมของเราได้ปรับเปลี่ยนวิชาสัมมนา (Capstone Unit) โดยเพิ่ม Digital Technology ลงไปในกระบวนการเรียนรู้และการบ่มเพาะประสบการณ์ให้กับนักศึกษา ช่วยให้นักศึกษาผสานความรู้ และความรู้ของตนไปใช้งานได้จริง ในบทความนี้เราได้เสนอปัจจัยสำคัญในกระบวนการ และต้องการให้ประชาคมใน ASCILITE ได้รับทราบถึงกระบวนการ และการออกแบบ Capstone ของเราเพื่อประโยชน์แก่เยาวชนชองรา และเราได้ปรับเปลี่ยน ใช้งาน Framework ต่าง ๆ เพื่อให้สอดคล้องกับเป้าหมายของเรา
ความเห็นจากผู้แปล และในฐานะของ MonsoonSIM Facilitator ในประเทศไทย
- วิชาสัมมนาควรได้รับการออกแบบเป็นอย่างดี ถึงกระบวนการและเนื้อหา วิชาสัมมนาที่มักมีในประเทศไทยเป็นเพียงวิชาที่หลายสถาบันผลักให้นักศึกษาออกไปหากิจกรรมเพื่อให้ครบหลักสูตรที่บังคับ และอาจไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ใด ส่วนวิชา Capstone ในความหมายของ Final Project นั้น ก็ถูกใช้เพื่อเป็นเงื่อนไขในการรับรองให้นักศึกษาผ่านเกณฑ์ การทบทวนบทบาทของวิชา Capstone ในประเทศไทย ควรให้ความสำคัญเช่นที่มีการ Re-Designed ในตัวอย่างของ Bachelor of Commerce ของ Deakin Business School
- การออกแบบกระบวนการและโครงสร้างเป็นเรื่องสำคัญ ทั้งในระดับวิชา และในระดับหลักสูตร เช่น องค์ประกอบแรกได้ช่่วยให้นักศึกษาที่ผ่านวิชาทั่วไปและวิชาเฉพาะสามารถเชื่อมโยงทฤษฎีที่เรียนมาให้เป็นชุดความรู้ที่ใช้งานได้ ซึ่งเป็นเรื่องจำเป็นในการศึกษา ทว่า ในประเทศไทยจากประสบการณ์ที่คลุกคตลีวงนอกของการศึกษาพบว่า เราให้ความสำคัญน้อยมากกว่าการวัดผลรายวิชาที่ขาดท่อน คล้ายไม่ซีกบนระนาดที่ไม่ได้เรียงคีย์เสียงสูงต่ำ เพื่อประสานให้เกิดเป็นเพลงที่ไพเราะได้ ในองค์ประกอบที่สอง คือการสร้างประสบการณ์เสมือนผ่าน Simulation พบว่าในประเทศไทย มีสถาบันการศึกษาที่ยังไม่เข้าใจการใช้ Simulation มาก ไม่มีนโยบาย ไม่มีงบประมาณในการ support และที่สำคัญไปกว่านั้น คือ ขาดบุคคลกรที่มีความพยายาม และมีจำนวนน้อยลงเรื่อย ๆ ในภาคการศึกษาของไทย บุคลากรที่ให้ความสนใจเดียวดายกลางสายลมแปรปรวน ต้องยืนหนึ่งและแข็งแรงมาก โดยปราศจากทีมและความเข้าใจจากผู้บริหาร Experiential Learning ของการศึกษาไทยวางกรอบหัก ๆ เอาไว้ โดยผ่านกิจกรรมเช่นการฝึกงาน, การทำ project และ สหกิจแบบขอไปที ไม่ได้ใส่ใจในคุณภาพและประโยชน์ที่จะเกิดขึ้น
- ตัวอย่างที่น่าสนใจในส่วนของการสร้างประสบการณ์ให้กับนักศึกษา ในองค์ประกอบที่ 3 น่าสนใจมาก เช่น การรวบรววมสรรพกำลังใาจัดกิจกรรมสัมภาษณ์สร้างความพร้อมให้กับนักศึกษา ซึ่งการศึกษาไทย จะเอาใครซักคนมาพูดให้นักศึกษาฟัง และจบไป โดยเชื่อว่าได้ให้ประสบการณ์แล้วอย่างดีและเพียงพอ (อนิจจัง พุธโธพุธถัง) ส่วนในองค์ประกอบที่ 4 นั้น เราก็มีกรณีศึกษา ทว่ากรณีศึกษาของเราแตกต่างจากวิธีการในบทความค่อยข้างมาก เรามีกรณีศึกษาเพราะว่าต้องมีเขียนในแบบ มคอ. ทว่ากรณีศึกษาของเราไม่ได้ถูกใช้อย่างจริงจังและมุ่งหวังประโยชน์
- ความน่าสนใจคือ การวางแผน การคำนึงถึงข้อจำกัด และการจัดการเรื่องทรัพยากรที่จำเป็นเพื่อให้ Capstone Unit ประสบผลสำเร็จ นั้นได้รับความร่วมมือ และสนับสนุนอย่างดี แตกต่างจากการศึกษาของไทย ที่วิชาสัมมนาในลักษณะนี้ไม่ได้รับความใส่ใจ ต้องอาศัย Connection ส่วนตัว และที่สำคัญ คือ Vision ที่พล่าเลือน กับ Misssion ที่บิดเบือนของ Capstone แบบไทย ๆ
- เราจะต้องเปลี่ยน Mindset และกำหนด Vision Mission ของการศึกษาไทยเสียใหม่ อย่างที่เราท่านเห็น เข้าใจ เจ็บและชินไปเอง ควรต้อง ถึงกาลปาวสาน หากเราต้องการสร้างเยาวชนที่มีความสามารถในการอยู่รอดในสังคม VUCA ให้เราภาวนา คิด และร่วมลงมือทำ