ปัญหาเรือง MRP ที่มีมาแต่เดิม เมื่อท่าน CT สอนทีละเนื้อหาตาม Roadmap จนกระทั่งถึงจุดที่ต้องการจะให้ประสบการณ์ และสอนการ คำนวน MRP; Material Require Planning นั้น มันจะมาเจอกับปัญหาดังนี้
- นักศึกษาจะมีความสับสน ใน Process ของการจัดซื้อ ในส่วนของ Finished Goods และ Raw Material เมื่อผสมกัน ทำให้ เกิดความยุ่งยาก และนักศึกษาไม่ยอมใช้ MRP
- นักศึกษา จะมีปริมาณ Inventory ในคลังสินค้า เหลืออยู่มาก จนกระทั่ง ไม่สามารถที่จะ Run MRP ผ่านได้ ทำให้ ยิ่งสับสันและไม่เข้าใจ MRP
- นักศึกษา ไม่มีความเข้าใจเรื่อง Safety Stock เพียงพอ ทำให้ การจำนวน Minimum Stock คลาดเคลื่อน และทำให้ตัดสินใจไม่ใช้ MRP ในที่สุด
วิธีที่เสนอแนะเพื่อให้ท่าน CT พิจารณา
แผนการสอน MRP กับการคำนวนเพื่อตลาดค้าปลีก Retail (Procure for B2C only)
ให้นักศึกษามีความเข้าใจในโมดูลของ ตลาดค้าปลีก ที่ใช้ Warehouse (FIN, PMN, RTL, FCS, WHS ส่วน MKT เป็นตัวเสริม) โดย นักศึกษา ควรเข้าใจเรื่อง จำนวนขายเฉลี่ย, เรื่องของ Safety Stock พื้นฐาน ซึ่งอาจจะใช้ 1-2 ครั้ง ในการให้ประสบการณ์นี้ เมื่อนักศึกษาพร้อมแล้ว
ขั้นตอน
1. ให้ขึ้น เกม Code ใหม่ และมี โมดูลเดิม คือ (FIN, PMN, RTL, FCS, WHS) ก่อน
2. CT อภิปรายเรื่องดังกล่าวต่อไปนี้ในห้องเรียน
ให้นักศึกษามีความเข้าใจในโมดูลของ ตลาดค้าปลีก ที่ใช้ Warehouse (FIN, PMN, RTL, FCS, WHS ส่วน MKT เป็นตัวเสริม) โดย นักศึกษา ควรเข้าใจเรื่อง จำนวนขายเฉลี่ย, เรื่องของ Safety Stock พื้นฐาน ซึ่งอาจจะใช้ 1-2 ครั้ง ในการให้ประสบการณ์นี้ เมื่อนักศึกษาพร้อมแล้ว
ขั้นตอน
1. ให้ขึ้น เกม Code ใหม่ และมี โมดูลเดิม คือ (FIN, PMN, RTL, FCS, WHS) ก่อน
- ส่วนเรื่องของ MKT จะเพิ่มทีหลัง และหากจะเพิ่ม ให้เป็นลักษณะของ Constraint ด้านจำนวนวัน และMultiply Consumption Ration
- ให้ตั้ง Fix Vendor Ontime Reliability แบบ Fix ไม่ตั้งเป็น AutoSelect% (เพื่อกำหนด Environment ของ Delivery Lead Time และจูงใจให้เห็นประโยชน์ของ MRP ที่ทำงานกับ ROP; Auto Replenishment ใน WHS
2. CT อภิปรายเรื่องดังกล่าวต่อไปนี้ในห้องเรียน
- Safety Stock วิธีการคำนวนใน MonsoonSIM หากเปิด MKT ให้ลองคำนวนด้วยว่า
- เรื่องของยอดขายเฉลี่ยนในระดับราคาที่เท่ากันใน Retails Forecasting กับการวางแผนเรื่องการเติมสินค้า
- เมื่อนำเอา Safety Stock ไปสัมพันธ์กับระยะทาง (Delivery Lead Time) จะทำให้ต้องวางแผนการสั่งสินค้าล่วงหน้ากี่วัน เพื่อเติมสินค้าแบบ Just In Time (ให้เพิ่มตัวแปรของความล่าช้าของ Vendors ไปด้วย)
- ให้ตีความตาราง Auto-Replenishment ใน WHS ตามภาพด้านล่าง เช่น ความสัมพันธ์ของจำนวน unit รวม เมื่อ ROP ทำงาน กับ ปริมาณพื้นที่ที่สอดคล้องกัน, ยอดรวมของจำนวน Safety Stock ที่ควรมีใน Warehouse เื่อกระบวนการคำนวน MRP
3. CT เปิดโมดูล MRP แล้วอธิบาย พื้นฐาน ให้ครอบคลุมเรื่อง
4. ให้นักศึกษา ทดลองใส่ค่า แล้ว Run MRP ซึ่งจะสามารถรันได้ โดยยังไม่มี Excess Inventory ครับ นักศึกษาจะสามารถรัน MRP แล้วเห็น PO ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อการ approve และยังเป็นโอกาสสอนในเรือง workflow automate
5. ให้ discusss กันหลังจากมีประสบการณ์
- Set Safety Stock ใน Warehouse ซึ่งในขณะนี้ คือ ผลรวมของ ยอดขายของสินค้าแต่ละชนิด ที่คำนวน Delivery Lead Time ไว้แล้ว มารวมกัน ซึ่งควรไปสัมพันธ์กับสัดส่วนของ Bulk Discount และเงินสดในมือ
- Set Prefer Vendor ซึ่งนักศึกษาจะต้องทราบเรื่อง Delay Percentage และ Delivery Lead Time เพื่อคำนวนจำนวน วันที่จะต้องกด Run MRP
- RUN MRP จะมีกระบวนการคำนวนอย่างได้ โดยหลักการคือ จำนวน Demand จะต้องมีมากกว่าปริมาณ Supply capability ที่เหลืออยู่ใน Warehouse
4. ให้นักศึกษา ทดลองใส่ค่า แล้ว Run MRP ซึ่งจะสามารถรันได้ โดยยังไม่มี Excess Inventory ครับ นักศึกษาจะสามารถรัน MRP แล้วเห็น PO ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อการ approve และยังเป็นโอกาสสอนในเรือง workflow automate
5. ให้ discusss กันหลังจากมีประสบการณ์
- เรื่องค่าของ MRP ในส่วนของ Set Safety Stock มีความเกี่ยวข้องกับอะไรบ้าง เช่น การเปลียนแปลงราคา, การเปลี่ยจำนวนที่สอดคล้องกับวันหยุด หรือ วิธีการทำงานที่จะรับมือกับช่วงที่ Demand เพิ่มขึ้นใน Holiday โดยไม่กระทบกับ MRP
- ข้อดีข้อเสียของการใช้ MRP และวิธีแก้ไข เปลี่ยนแปลง
แผนการสอน MRP กับการคำนวนเพื่อตลาดค้าปลีก Retail + B2B Wholesales (Procure for B2C+B2B)
ขั้นตอน
1. ให้ CT เปิดโมดูล B2B เพิ่ม ให้เห็นราขการของ BID และ DEAL
กระบวนการคำนวน ของ MRP จะแตกต่างออกไปจาก การที่มีตลาดค้าปลีกอย่างเดียว โดยใน B2B นั้น MRP จะคำนวนว่าเป็น Demand Capability ก็ต่อเมื่อ Sales Orders นัันถูกยืนยันจำนวนแล้ว
2. ให้ Discuss กันในหัวข้อต่อไปนี้
ขั้นตอน
1. ให้ CT เปิดโมดูล B2B เพิ่ม ให้เห็นราขการของ BID และ DEAL
กระบวนการคำนวน ของ MRP จะแตกต่างออกไปจาก การที่มีตลาดค้าปลีกอย่างเดียว โดยใน B2B นั้น MRP จะคำนวนว่าเป็น Demand Capability ก็ต่อเมื่อ Sales Orders นัันถูกยืนยันจำนวนแล้ว
- กรณีของ Deal เมื่อกดรับข้อเสนอแล้ว จะถือเป็น Confirmed Demand ที่ระบบจะต้อง Fulfil จำนวน โดยจะรวมค่าเมื่อสิ้นสุดวัน และจะคำนวนเมื่อกด RUN MRP
- กรณีของ Bidding จะต้องรอวันประกาศผลก่อน ระบบจึงนับเป็น Confirmed Demand แล้วนำไปในการคำนวนของ MRP โดยจะรวมกับ Demand ส่วนอื่น ๆ แล้วนำค่าไปรวม เมื่อมีการ Run MRP
2. ให้ Discuss กันในหัวข้อต่อไปนี้
- จะวางแผนโดยใช้ให้ MRP คำนวนเผื่อส่วนของ Safety Stock โดย Cover ทั้ง B2B และ B2C อย่างไร ในกรณีทีให้มี Saftety Stock เพียงพอต่อการตจัดสินใจ Deal หรือ Bid ที่รวดเร็ว โดยระบบไม่ต้องดำค่าคำนวนเอง เพื่อควบคุมคุณภาพในการจัดซื้อ
- MRP จะคำนวน Demand ในส่วนของ B2B แตกต่างกัน ระหว่าง Bid และ Deal อย่างไร
- จะกด RUN MRP ถี่ห่างอย่างไร โดยที่ ยังคง safey Stock และ ส่วนลดในการจัดซื้อได้ด้วย หรือ ช่วยให้ Safty Stock มีส่วนในการเป็นกลยุทธ์ของการค้า B2B
แผนการสอน MRP เมื่อมีทั้งส่วนของ Procure และ Produce สำหรับ B2B+B2B
เมื่อ CT เปิด PRD หรือ Production (การผลิต) จะมีความซับซ้อนมากขึ้น เนื่องจาก ในกระบวนการผลิตนั้น จะต้องมีการสั่งซื้อวัตถุดิบตาม BOM; Bill of Material
คำแนะนำการตั้งค่าเพื่อให้เกิด Environment ในการใช้งาน MRP
เมื่อ CT เปิด PRD หรือ Production (การผลิต) จะมีความซับซ้อนมากขึ้น เนื่องจาก ในกระบวนการผลิตนั้น จะต้องมีการสั่งซื้อวัตถุดิบตาม BOM; Bill of Material
คำแนะนำการตั้งค่าเพื่อให้เกิด Environment ในการใช้งาน MRP
- ให้มีจำนวน Customer ใน B2B มีมากราย
- ให้ตั้ง Production Capacity เป็นจำนวนไม่ลง 0 เช่น 12345, 6789 เป็นต้น
- ให้ตั้งให้สินค้าแต่ละชนิดมี BOM ที่หลากหลาย ไม่เป็น 1:1:1 เป็น 1:2:1, 1:3:2 ซึ่งทำให้ไม่สามารถคำนวนด้วยมือได้ง่าย
- ให้ตั้งให้ต้นทุนของวัตถุดิบ หรือ FG มีราคาสูงขึ้น เพื่อให้เกิด Waste จาก Inventory
เมื่อท่านเปิด Production แล้ว MRP จะมีการคำนวน 2 ส่วน โดย
ขั้นตอน
1. ให้ CT แนะนำเรื่อง BOM
ในกรณีนี้ คือ Prosuction BOM โดยในครั้งแรกคงอัตราส่วนของ 1:2:1 ตาม Standard Configutration ไว้ ก่อน
2. สร้างการคำนวนไปพร้อมกัน บนกระดาน
3. Demo ไปพร้อม ๆ กัน
4. สร้างการ Discussion ในหัวข้อคำถามต่อไปนี้
5. ให้นักศึกษาได้ทดลอง โดยอาจจะกลับไปในเกมเดิมก่อนหน้านี้ แล้วเปิด Production เพื่อรันเกมต่อไป
สิ่งนี้คือตัวอย่างของการรันคลาสเพื่อให้เกิดการเรียนรู้เรื่อง MRP ส่วนนักศึกษาจะใช้หรือไม่นั้น มิอาจจะยืนยันได้ ทว่า อย่างน้อยนักศึกษาได้เห็นขั้นตอนกระบวนการ ที่ผมตั้งใจแบ่งปันเอาไว้ และเป้นวิธีการที่จะทำให้ นักศึกษาเห็นผลในการรัน MRP แน่นอน ใน MonsoonSIM
- Produce หรือ ส่วนของการผลิต ซึ่ง MRP จะนำไปคำนวนหา Ram Material ตาม BOM
- Procure หรือ ส่วนของสินค้าสำเร็จรูป
ขั้นตอน
1. ให้ CT แนะนำเรื่อง BOM
ในกรณีนี้ คือ Prosuction BOM โดยในครั้งแรกคงอัตราส่วนของ 1:2:1 ตาม Standard Configutration ไว้ ก่อน
2. สร้างการคำนวนไปพร้อมกัน บนกระดาน
- ยกตัวอย่างสถานการณ์ความต้องการ CONFIRMED DEMAND จาก DEAL + ความต้องการ Safety Stock จาก B2C แล้วให้นักศีกษาคำนวนไปพร้อม ๆ กัน
- ใช้เส้นของเวลาด้วยการตีตารางวัน และ Requirement แตกต่างกันไป เพื่อช่วยให้เห็นว่า จะคำนวนอย่างไร เกิดจากข้อมูลใดมารวมกัน
- สร้างเงื่อนไขเพิ่มเติม เช่น จำนวนของ Inventory ใน Warehouse ขณะนั้น มาเป็นเงื่อนไขเพิ่มเติมในการคำนวน
- สร้างเงื่อนไข โดยเริ่มต้นจาก 100% Procure ก่อน เพื่อเป็นตัวเลขที่ง่ายขึ้น
3. Demo ไปพร้อม ๆ กัน
- ท่านอาจจะเริ่มต้นเกมใหม่ในวันที่ 0 โดย Inventory เป็น 0 ตั้งเวลาประมาณ 60 - 75 วินาที เพื่ออธิบาย โดยทำไปพร้อม ๆ กันในจอ
- หยุดเกม เมื่อมีการ commit Deal แล้ว และ ลอง Bid โดยที่ยังไม่ถึงวันประกาศ
- ให้นักศึกษาคิดและแวดงตัวเลขที่คิดได้ออกมา
- RUN MRP เพื่อให้เห็นผล
- เปลี่ยน Scenario โดยไม่ Approve PO ใบนั้น แล้ว ใช้เงื่อนไขสัดส่วนระหว่าง Produce : Procure
- ให้นักศึกษาคิดและแวดงตัวเลขที่คิดได้ออกมา
- RUN MRP เพื่อให้เห็นผล
4. สร้างการ Discussion ในหัวข้อคำถามต่อไปนี้
- สัดส่วนของ Produce : Procure จะเปลี่ยนแปลงได้จาก กรณีใดบ้าง ให้นักศึกษาพยายามคิดถึงปัจจัยต่าง ๆ ให้ได้ 2-3 กรณี
- การจัดระบบการทำงาน จะเป็นแบบ Push หรีอ Pull methodology เมื่อใช้ MRP ด้วยสาเหตุใด
- PRO และ CON ของการใช้ MRP
- ข้่อจำกัดของ MRP และวิธีการทำลายข้อจำกัดนั้น
5. ให้นักศึกษาได้ทดลอง โดยอาจจะกลับไปในเกมเดิมก่อนหน้านี้ แล้วเปิด Production เพื่อรันเกมต่อไป
สิ่งนี้คือตัวอย่างของการรันคลาสเพื่อให้เกิดการเรียนรู้เรื่อง MRP ส่วนนักศึกษาจะใช้หรือไม่นั้น มิอาจจะยืนยันได้ ทว่า อย่างน้อยนักศึกษาได้เห็นขั้นตอนกระบวนการ ที่ผมตั้งใจแบ่งปันเอาไว้ และเป้นวิธีการที่จะทำให้ นักศึกษาเห็นผลในการรัน MRP แน่นอน ใน MonsoonSIM