การทำความเข้าใจใน Interface ของ MonsoonSIM สำหรับนักศึกษาไทยนั้น เป็นเรื่องที่ใช้เวลาค่อนข้างมาก ซึ่งแบ่งออกเป็นสาเหตุหลัก คือ การไม่เข้าใน Interface ที่ถึงแม้นว่าจะเป็นภาษาอังกฤษที่เป็นคำศัพท์ง่าย ๆ ก็ตาม ซึ่งจากประสบการณ์ในการรันคอร์สที่ประเทศฟิลิปปินส์ และเห็นการรันคอร์สแรก ๆ ในประเทศอื่น ๆ พบว่ามีปัญหาและอุปสรรคน้อยกว่า ซึ่งปัญหานี้ ในปัจจุบันมี Feature Tour Guide Language ให้บริการในภาษาไทยแล้ว (โปรดคลิกที่นี่เพื่อดูวิธีการตั้งค่า ใช้ CT CLIP เรื่อง Tour Guide Language Settting)
ในส่วนของการทำความเข้าใจ Interface ที่ท่าน CT อาจจะจ้องทำซ้ำเป็นประจำ ตอนนี้ในเวปไซต์ที่เป็นทางการของ MonsoonSIM ประเทศไทย มีเนื้อหาที่ถูกทำเป็นคลิปภาษาไทย โดยประกอบด้วย
คำแนะนำของเรา คือ ในปลายคาบก่อนที่ครั้งต่อไปจะนำ MonsoonSIM มาเป็นอุปกรณ์ ท่านสามารถที่จะให้นักศึกษาลงทะเบียนผ่านโทรศัพท์มือถือ ไว้ก่อนโดยท่านสร้างกลุ่มให้ และให้นักศึกษา Game Code ที่ต้องการ โดย Activate โมดูลพื้นฐานไว้ ซัก 3 โมดูล เช่น FIN, PMN และ RTL หลังจากนั้น ก็ให้ Link ของ Portal ไปกับนักศึกษา หรือ หากท่านมี Community ผ่าน Social media ต่าง ๆ เช่น Line Group หรือ Facebook Group ท่านอาจจะนำ Link ของ Clip ในโมดูลที่เกี่ยวข้องใส่ไว้ใน Communiy ดังกล่าว เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษามาก่อนล่วงหน้า เพื่อเป็นการสร้าง Active Learner และก่อนเริ่มเกมในครั้งต่อไป อาจจะเปิดโอกาสให้นักศึกษาสอบถามถึงเรื่องที่สงสัยจากคลิปก่อนที่จะเริ่มให้ประสบการณ์ครั้งแรก
ประโยชน์ที่เกิดขึ้น นอกจากที่ท่าจะใช้เวลาในชั้นเรียนน้อยลงกับความเข้าใจเรื่อง Interface แล้ว ท่านยังจะสามารถใช้เวลาในคาบที่มีอน้อยไปเน้นการสร้างประสบการณ์ การอธิบายจาก Obsevation สร้างชั้นเรียนแบบ 2-way-community และ ใช้เวลาในการทำ Discussion ปัญหา เพราะว่าการแข่งขันในเกมจะเป็นตัวกระตุ้นให้นักศึกษาตื่นตัวอยู่แล้ว
TIPs: การ reset game หรือการ save session (ซึ่งมีตั้งแต่ version 6.0) จะเป็นเครื่องมือที่ช่วยกระตุ้นนักศึกษาหลังจากท่านเปิดผลลัพท์เปรียบเทียบกัน
Portal ของนักศึกษา >> https://www.monsoonsimthailand.com/user-manual--content.html
ในส่วนของการทำความเข้าใจ Interface ที่ท่าน CT อาจจะจ้องทำซ้ำเป็นประจำ ตอนนี้ในเวปไซต์ที่เป็นทางการของ MonsoonSIM ประเทศไทย มีเนื้อหาที่ถูกทำเป็นคลิปภาษาไทย โดยประกอบด้วย
- ความเข้าใจพื้นฐานของ MonsoonSIM เช่นการลงทะเบียน, การ Login เข้าสู่เกม และ Scenario พื้นฐานในเกม
- ความเข้าในเกี่ยวกับโมดูลต่าง ๆ ของ MonsoonSIM ทั้ง 12 โมดูล ซึ่งยังได้รวบรวมเนื้อหาพื้นฐาที่เกี่ยวข้องกับเรื่องในโมดูลต่าง ๆ ไว้ด้วย
คำแนะนำของเรา คือ ในปลายคาบก่อนที่ครั้งต่อไปจะนำ MonsoonSIM มาเป็นอุปกรณ์ ท่านสามารถที่จะให้นักศึกษาลงทะเบียนผ่านโทรศัพท์มือถือ ไว้ก่อนโดยท่านสร้างกลุ่มให้ และให้นักศึกษา Game Code ที่ต้องการ โดย Activate โมดูลพื้นฐานไว้ ซัก 3 โมดูล เช่น FIN, PMN และ RTL หลังจากนั้น ก็ให้ Link ของ Portal ไปกับนักศึกษา หรือ หากท่านมี Community ผ่าน Social media ต่าง ๆ เช่น Line Group หรือ Facebook Group ท่านอาจจะนำ Link ของ Clip ในโมดูลที่เกี่ยวข้องใส่ไว้ใน Communiy ดังกล่าว เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษามาก่อนล่วงหน้า เพื่อเป็นการสร้าง Active Learner และก่อนเริ่มเกมในครั้งต่อไป อาจจะเปิดโอกาสให้นักศึกษาสอบถามถึงเรื่องที่สงสัยจากคลิปก่อนที่จะเริ่มให้ประสบการณ์ครั้งแรก
ประโยชน์ที่เกิดขึ้น นอกจากที่ท่าจะใช้เวลาในชั้นเรียนน้อยลงกับความเข้าใจเรื่อง Interface แล้ว ท่านยังจะสามารถใช้เวลาในคาบที่มีอน้อยไปเน้นการสร้างประสบการณ์ การอธิบายจาก Obsevation สร้างชั้นเรียนแบบ 2-way-community และ ใช้เวลาในการทำ Discussion ปัญหา เพราะว่าการแข่งขันในเกมจะเป็นตัวกระตุ้นให้นักศึกษาตื่นตัวอยู่แล้ว
TIPs: การ reset game หรือการ save session (ซึ่งมีตั้งแต่ version 6.0) จะเป็นเครื่องมือที่ช่วยกระตุ้นนักศึกษาหลังจากท่านเปิดผลลัพท์เปรียบเทียบกัน
Portal ของนักศึกษา >> https://www.monsoonsimthailand.com/user-manual--content.html