การใช้ MonsoonSIM Business Simulation เพื่อเป็นเครื่องมือในการประเมินศักยภาพ และทัศนคติในการทำงานของบุคลากรในฐานะ “ทุน/ทรัพยากร” อันมีความสำคัญยิ่งขององค์กรเพื่อนำไปสู่การวางแผนกลยุทธ์ในการพัฒนาบุคลากรเพื่อองค์กรที่มีความสามารถในการแข่งขัน
โดย ปรมินทร์ เยาว์ยืนยง, MonsoonSIM Facilitator of P3Y MonsoonSIM Thailand, [email protected]
โดย ปรมินทร์ เยาว์ยืนยง, MonsoonSIM Facilitator of P3Y MonsoonSIM Thailand, [email protected]
หมายเหตุ: บทความนี้ไม่ใช่บทความทางวิชาการ มีวัตถุประสงค์เพื่อแบ่งปันประสบการณ์ในการใช้ MonsoonSIM Business Simulation เป็นเครื่องมือในการประเมินศักยภาพของบุคลากร และร่วมกับกระบวนการประเมินอื่น ๆ เพื่อความเข้าใจที่ลึกขึ้น และเป็นข้อมูลในการวางแผนพัฒนาบุคลากรเชิงกลยุทธ์เพื่อสร้างองค์กรที่เข้มแข็ง ในด้านพื้นฐานความรู้และทักษะทางธุรกิจ การบริหารจัดการเพื่อสร้างความเติบโตทางธุรกิจ ณ บริบทของเดือนกันยายน 2565 โดยใช้การรวบรวมจากการเก็บสถิติเกี่ยวกับสมรรถนะความรู้และทักษะพื้นฐานในช่วงการระบาดของโควิด-19 ร่วมกับการเก็บสถิติ และประสบการณ์จากการร่วมทำ Competency Assessment ในช่วงมิถุนายน - กันยายน 2565 โดยมีขอบเขตสำหรับองค์กรที่มีการบริหารงานแบบของไทยและไม่ใช่บริษัทข้ามชาติ บทความนี้เป็นบทความอันดับที่สอง ในชุดบทความการใช้ Business Simulation ในภาคองค์กร (สามารอ่านบทความแรกเรื่อง Decoding MonsoonSIM in Corporate Training Surbey)
ผู้เขียนพยายามไม่ใช้คำว่า "สมรรถนะ" ในช่วงเริ่มต้น เพราะว่าโดยส่วนตัวไม่ชอบคำนี้ ผู้เขียนใช้คำว่า "ศัยกภาพ" ในความเหมายเดียวกัน บทความมีการใช้คำทับศัพท์ภาษาอังกฤษตลอดบทความ เนื่องจากสื่อความหมายได้ตรงกว่าคำแปลในภาษาไทย ซึ่งอาจจะขัดใจหลายท่าน และขออภัยมาณ ทีนี้ด้วย
บทความมีความยาว 35 หน้า เป็นการถอดประสบการณ์ของผู้เขียน ท่านที่สนใจสามารถดาวโหลดไฟล์ด้านล่างนี้
ขออภัยในความผิดพลาดในเชิงภาษา ต่าง ๆ และอาจเกิดความไม่ต่อเนื่อง เนื่องจากใช้เวลาว่างในการเขียนบทความนี้
ความทันสมัยของบทความครอบคลุมในช่วงตุลาคม 2022 หากท่านได้อ่านบทความนี้ในอนาคต อาจเป็นความล้าสมัย ซึ่งแปลว่าสังคมไทยได้พัฒนาไปจากจุดที่บทความระบุไว้ แต่หากยังมีความร่วมสมัยในอนาคต แปลว่าเราอาจไม่ได้พัฒนาให้เท่ากับอัตราเร่งของโลก
ผู้เขียนพยายามไม่ใช้คำว่า "สมรรถนะ" ในช่วงเริ่มต้น เพราะว่าโดยส่วนตัวไม่ชอบคำนี้ ผู้เขียนใช้คำว่า "ศัยกภาพ" ในความเหมายเดียวกัน บทความมีการใช้คำทับศัพท์ภาษาอังกฤษตลอดบทความ เนื่องจากสื่อความหมายได้ตรงกว่าคำแปลในภาษาไทย ซึ่งอาจจะขัดใจหลายท่าน และขออภัยมาณ ทีนี้ด้วย
บทความมีความยาว 35 หน้า เป็นการถอดประสบการณ์ของผู้เขียน ท่านที่สนใจสามารถดาวโหลดไฟล์ด้านล่างนี้
ขออภัยในความผิดพลาดในเชิงภาษา ต่าง ๆ และอาจเกิดความไม่ต่อเนื่อง เนื่องจากใช้เวลาว่างในการเขียนบทความนี้
ความทันสมัยของบทความครอบคลุมในช่วงตุลาคม 2022 หากท่านได้อ่านบทความนี้ในอนาคต อาจเป็นความล้าสมัย ซึ่งแปลว่าสังคมไทยได้พัฒนาไปจากจุดที่บทความระบุไว้ แต่หากยังมีความร่วมสมัยในอนาคต แปลว่าเราอาจไม่ได้พัฒนาให้เท่ากับอัตราเร่งของโลก
competency_assessment_with_monsoonsim_simulation.pdf |