
ku_integrative_2022_decode_by_p3y.pdf |
คำนำ
(โปรดดาวโหลดบทความเต็มได้ที่ Link ด้านบน)
บทความนี้ไม่ใชบทความวิชาการ เพียงการถอดบทเรียนจากความตั้งใจที่จะหากิจกรรมที่เชื่อมโยงไปจากประสบการณ์พื้นฐานที่ได้รับจาก MonsoonSIM ของนิสิตนักศึกษา โดยนำเอา Canvas ที่ใช้ในการทำความเข้าใจ Business Model ได้แก่ BMC และ LEAN มาเป็นเครื่องมือในการสร้างการเรียนรู้โดยการประสานประสบการณ์ (Co-Experiences Leaning;ผู้เขียน) โดยมีการจัดกิจกรรมประกอบในโครงการ ซึ่งได้รับความร่วมมือจากมหาวิทยาลัยที่เป็นสมาชิกของ MonsoonSIM ในประเทศไทยแห่งหนึ่ง ซึ่งเห็นตรงกับกับอาจารย์ Facilitator ว่าในรอบหลายปีที่ผ่านมา ที่ประเทศไทยเข้าสู่กระแสของ Startup Business เพื่อสร้าง New S Curve ให้กับประเทศนั้น การสร้างแผนธุรกิจมักเกิดจากแนวคิดที่ไม่ได้ใช้ข้อมูลจริง หรือไม่มีผลต่อการศึกษาตามเป้าหมายที่วางไว้ และแนวคิดเหล่านั้นมีปัญหาที่ไม่สะท้อนความเป็นจริง ในการเขียนแผนธุรกิจของนิสิตนักศึกษามักสอนในชั้นเรียน หรือในกิจกรรม Startup ต่าง ๆ นั้น พบว่าแนวคิดไม่มีความเข้าใจทางธุรกิจและการจัดการรองรับแนวคิดเหล่านั้นที่เพียงพอ จึงเป็นสมมติฐานในการนำเอาพื้นฐานความรู้จาก Simulation มาลองผสานกับการเขียนแผนธุรกิจ หรือศึกษาแผนธุรกิจเพื่อความเข้าใจที่เพิ่มขึ้นของนักศึกษา ซึ่งผู้เขียนได้ทดลองแนวคิดนี้ใน Workshop สำหรับผู้ใหญ่ที่เป็นนักวิจัย และผู้ประกอบการแล้วได้ผลที่ดี ทว่าสิ่งที่นักศึกษาทั่วไปจะแตกต่างจากผู้ใหญ่ คือ ประสบการณ์ในการเข้าใจธุรกิจ, การตีความข้อมูล, Soft Skills ต่าง ๆ ที่จำเป็นในการสร้างแผนธุรกิจ/แผนการตลาด ทว่าเป็นการเริ่มต้นให้เห็นว่าการประสานประสบการณ์เป็นจุดเริ่มต้นที่ดี และทำให้เกิดแผนที่สะท้อนความจริง และนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการก็ได้รับประโยชน์ในการพัฒนาศักยภาพของตนเอง
ในกิจกรรมนี้ผู้เขียนได้เชิญชวนหน่วยงานด้านงานวิจัยของมหาวิทยาลัยที่เป็นสมาชิกมาร่วม เพื่อนำงานวิจัยที่มีร่วมมือกับผู้ประกอบการมาใช้เป็นกรณีศึกษาในการเขียนแผนธุรกิจ โดยมีเป้าหมายสำคัญหนึ่งคือ แผนธุรกิจเกิดจากแนวคิดในการสร้างผลิตภัณฑ์ ซึ่งลดปัญหาการพยายามพัฒนาผลิตภัณฑ์ไปส่วนหนึ่ง และเป้าหมายที่มีความสำคัญ คือ โอกาสที่จะให้นักศึกษาได้ฝึกฝนทักษะที่การศึกษาในระบบให้ไม่ได้ และประสบการณ์ในการทำงานที่ผลงานการศึกษาของเขาถูกนำไปพิจารณาเพื่อสร้างเป็นธุรกิจจริง และโอกาสที่จะได้ข้อมูลจากนักวิจัย และผู้ประกอบการ เป็นประสบการณ์ที่หาไม่ได้ในห้องเรียนปรกติ
บทความนี้เขียนถอดประสบการณ์ในฐานะผู้เล่าเรื่อง ซึ่งภาษาอาจไม่ใช่ภาษาที่สละสลวย เป็นภาษาเขียนที่งดงาม หวังว่าจะเป็นประสบการณ์ที่นำไปเปลี่ยนแปลงวิธีการเรียนการสอนในความฝันเรื่อง LTT; Learning and Teaching Transformation ซึ่งเป็นชั้นแรกที่ทรงพลานุภาพใน Education Reformation (การปฏิวัติการศึกษาที่การปฏิรูปไม่เพียงพอ) ท้ายสุดนี้ ขอขอบคุณผู้มีส่วนร่วมทุกคนที่เป็นแหล่งประสบการณ์ ได้แก่ อาจารย์ ดร.เอกอนงค์ ตั้งฤกษ์วราสกุล กำลังสำคัญของโครงการนี้, นิสิตทุกคน ที่มาร่วมโครงการที่ไม่มีเกรด ไม่เป็นส่วนหนึ่งของชั้นเรียน ไม่ใช่การแข่งขัน ไม่มีเงินรางวัล มีเพียงอาหารว่าง อาหารเที่ยง เครื่องดื่ม (ตามอัตภาพของโครงการ) ขอบคุณที่น้อง ๆ ไม่ทิ้งกัน และสู้จนจบ, คุณสิทธิศักดิ์ ห่านนิมิตรกุลชัย เพื่อนที่ฟังแนวคิดแล้วไปประสานงานต่อจนเป็นโครงการนี้ และกรรมการทุกท่านที่ได้ให้ความร่วมมือ และสะท้อนความเห็นตรงไปตรงมากับนักศึกษา อาจารย์ และโครงการ ความเห็นในบทความนี้เป็นความเห็นส่วนตัวในฐานะผู้จัดทำโครงการ, ผู้ประสานงาน Mentor ของนิสิต และผู้ร่วมสมทบทุนในโครงการนี้
(โปรดดาวโหลดบทความเต็มได้ที่ Link ด้านบน)
บทความนี้ไม่ใชบทความวิชาการ เพียงการถอดบทเรียนจากความตั้งใจที่จะหากิจกรรมที่เชื่อมโยงไปจากประสบการณ์พื้นฐานที่ได้รับจาก MonsoonSIM ของนิสิตนักศึกษา โดยนำเอา Canvas ที่ใช้ในการทำความเข้าใจ Business Model ได้แก่ BMC และ LEAN มาเป็นเครื่องมือในการสร้างการเรียนรู้โดยการประสานประสบการณ์ (Co-Experiences Leaning;ผู้เขียน) โดยมีการจัดกิจกรรมประกอบในโครงการ ซึ่งได้รับความร่วมมือจากมหาวิทยาลัยที่เป็นสมาชิกของ MonsoonSIM ในประเทศไทยแห่งหนึ่ง ซึ่งเห็นตรงกับกับอาจารย์ Facilitator ว่าในรอบหลายปีที่ผ่านมา ที่ประเทศไทยเข้าสู่กระแสของ Startup Business เพื่อสร้าง New S Curve ให้กับประเทศนั้น การสร้างแผนธุรกิจมักเกิดจากแนวคิดที่ไม่ได้ใช้ข้อมูลจริง หรือไม่มีผลต่อการศึกษาตามเป้าหมายที่วางไว้ และแนวคิดเหล่านั้นมีปัญหาที่ไม่สะท้อนความเป็นจริง ในการเขียนแผนธุรกิจของนิสิตนักศึกษามักสอนในชั้นเรียน หรือในกิจกรรม Startup ต่าง ๆ นั้น พบว่าแนวคิดไม่มีความเข้าใจทางธุรกิจและการจัดการรองรับแนวคิดเหล่านั้นที่เพียงพอ จึงเป็นสมมติฐานในการนำเอาพื้นฐานความรู้จาก Simulation มาลองผสานกับการเขียนแผนธุรกิจ หรือศึกษาแผนธุรกิจเพื่อความเข้าใจที่เพิ่มขึ้นของนักศึกษา ซึ่งผู้เขียนได้ทดลองแนวคิดนี้ใน Workshop สำหรับผู้ใหญ่ที่เป็นนักวิจัย และผู้ประกอบการแล้วได้ผลที่ดี ทว่าสิ่งที่นักศึกษาทั่วไปจะแตกต่างจากผู้ใหญ่ คือ ประสบการณ์ในการเข้าใจธุรกิจ, การตีความข้อมูล, Soft Skills ต่าง ๆ ที่จำเป็นในการสร้างแผนธุรกิจ/แผนการตลาด ทว่าเป็นการเริ่มต้นให้เห็นว่าการประสานประสบการณ์เป็นจุดเริ่มต้นที่ดี และทำให้เกิดแผนที่สะท้อนความจริง และนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการก็ได้รับประโยชน์ในการพัฒนาศักยภาพของตนเอง
ในกิจกรรมนี้ผู้เขียนได้เชิญชวนหน่วยงานด้านงานวิจัยของมหาวิทยาลัยที่เป็นสมาชิกมาร่วม เพื่อนำงานวิจัยที่มีร่วมมือกับผู้ประกอบการมาใช้เป็นกรณีศึกษาในการเขียนแผนธุรกิจ โดยมีเป้าหมายสำคัญหนึ่งคือ แผนธุรกิจเกิดจากแนวคิดในการสร้างผลิตภัณฑ์ ซึ่งลดปัญหาการพยายามพัฒนาผลิตภัณฑ์ไปส่วนหนึ่ง และเป้าหมายที่มีความสำคัญ คือ โอกาสที่จะให้นักศึกษาได้ฝึกฝนทักษะที่การศึกษาในระบบให้ไม่ได้ และประสบการณ์ในการทำงานที่ผลงานการศึกษาของเขาถูกนำไปพิจารณาเพื่อสร้างเป็นธุรกิจจริง และโอกาสที่จะได้ข้อมูลจากนักวิจัย และผู้ประกอบการ เป็นประสบการณ์ที่หาไม่ได้ในห้องเรียนปรกติ
บทความนี้เขียนถอดประสบการณ์ในฐานะผู้เล่าเรื่อง ซึ่งภาษาอาจไม่ใช่ภาษาที่สละสลวย เป็นภาษาเขียนที่งดงาม หวังว่าจะเป็นประสบการณ์ที่นำไปเปลี่ยนแปลงวิธีการเรียนการสอนในความฝันเรื่อง LTT; Learning and Teaching Transformation ซึ่งเป็นชั้นแรกที่ทรงพลานุภาพใน Education Reformation (การปฏิวัติการศึกษาที่การปฏิรูปไม่เพียงพอ) ท้ายสุดนี้ ขอขอบคุณผู้มีส่วนร่วมทุกคนที่เป็นแหล่งประสบการณ์ ได้แก่ อาจารย์ ดร.เอกอนงค์ ตั้งฤกษ์วราสกุล กำลังสำคัญของโครงการนี้, นิสิตทุกคน ที่มาร่วมโครงการที่ไม่มีเกรด ไม่เป็นส่วนหนึ่งของชั้นเรียน ไม่ใช่การแข่งขัน ไม่มีเงินรางวัล มีเพียงอาหารว่าง อาหารเที่ยง เครื่องดื่ม (ตามอัตภาพของโครงการ) ขอบคุณที่น้อง ๆ ไม่ทิ้งกัน และสู้จนจบ, คุณสิทธิศักดิ์ ห่านนิมิตรกุลชัย เพื่อนที่ฟังแนวคิดแล้วไปประสานงานต่อจนเป็นโครงการนี้ และกรรมการทุกท่านที่ได้ให้ความร่วมมือ และสะท้อนความเห็นตรงไปตรงมากับนักศึกษา อาจารย์ และโครงการ ความเห็นในบทความนี้เป็นความเห็นส่วนตัวในฐานะผู้จัดทำโครงการ, ผู้ประสานงาน Mentor ของนิสิต และผู้ร่วมสมทบทุนในโครงการนี้