Thailand MonsoonSIM Content by P3Y Academy
MonsoonSIMTH
  • THAILAND MonsoonSIM
    • TH MonsoonSIM Product & Service >
      • MonsoonSIM Users/Customers ในประเทศไทย >
        • ความเห็นของนักศึกษาที่ได้ใช้ MonsoonSIM
    • ข่าวสาร TH MonsoonSIM
    • TH Monsooner Library >
      • V10 Learner Guide >
        • Newly User Guide
        • Finance Measurement BI & Analytics Guide >
          • MSIM x Data Analytics >
            • Download
        • Sales and Marketing Guide
        • Management Guide
      • ชุดความรู้จาก MonsoonSIM >
        • MSIM DAILY WORD with COSCI SWU >
          • MSIMTH COSCI SWU Dailyword
      • V9 MSIM QuickGuide >
        • V9 USER MANUAL & Content
    • TH Facilitator Library >
      • Facilitator Quick Guide V9
      • CT Manual and Tools V9
      • CT Clips Manual V9 >
        • Basic Game setup, Tools and Tips
        • Configurations drill down
        • Configulations Design
  • SPECIAL ACTIVITIES
    • COMPETITION >
      • TH Business Data Analytics & Data Visualization
      • TH ERM LEAGUE >
        • TH ERM LEAGUE 2021 >
          • Candidate THERML 2021
        • TH ERM LEAGUE 2020 >
          • English Presentation Clip
          • MSIM TH LEAGUE 2020
        • TH ERM Challenge 2019 >
          • ผลงานรอบ English Presentation Clip
          • การโต้วาที ใน Semi-Final
        • TH ERM Challenge 2018 >
          • Judges of TH ERM Challenge 2018
          • ผลงานรอบ English Presentation
          • ผลงานรอบนำเสนอ SME CASE
          • FAQ About TH ERM Challenge 2018
          • Download
        • TH ERM Challenge ๒๐๑๗ >
          • คำปรารภจากใจผู้จัดการแข่งขัน
          • ผู้สนับสนุนการแข่งขัน
          • กรรมการรับเชิญของการแข่งขัน TH ERM Challenge ๒๐๑๗
        • TH ERM Challenge 2016 >
          • ประสบการณ์ของ TH Monsooner รุ่น 1
      • MERMC >
        • MERMC 2022
        • MERMC 2020
        • MERMC 2019
        • MERMC 2018
        • MERMC 2017 >
          • Competition Quick Information
          • Judges of MERPC
          • Update News about MERPC 2017
        • MERMC 2016
    • MonsoonSIM Freshman >
      • MSIM Freshman 2021
      • MSIM Freshman 2020
    • Thais Teen Entrepreneurial Project
    • Donation Workshop >
      • Donation Workshop 2021 >
        • Q4 2021 Donation Workshop
        • Q3 2021 Donation Workshop
        • Q2 2021 Donation Workshop
        • Q1 2021 Donation Workshop
      • Donation Workshop 2020 >
        • Q4 2020 Donation Workshop
        • Q3 2020 Donation Workshop
        • Q2 2020 Donation Workshop
        • Q1 2020 Donation Workshop
    • MSIM TH SEMINAR >
      • 2023 Education Transformation in Business Data Analytics
      • 2020 K-Practice
      • 2016 Series
      • 2017 Series >
        • Related Topic to Seminar Theme
        • Summay and Download
      • League of TH Education Transfornation >
        • Round Table for TH Education Transformation
        • Clip to Lecturer
    • MSIM CONFERENCE >
      • MSIM CONFERENCE 2019
      • MSIM CONFERENCE 2020
    • MonsoonSIMTG x Alliances >
      • WoW Academy Thailand 2021!!! >
        • WoW Academy Workshop
      • Entrepreneurial Series by BDT and Gamification
  • Sharing Index
    • BLOG
    • Article by MonsoonSIM TH
  • Contact us

Entreprenuerial ทักษะ และกระบวนคิด ที่คนไทยขาดแคลน และต้องร่วมกันส่งเสริมให้เกิดมี (EP1)

6/14/2019

0 Comments

 
ตอนที่ 1 นิยามของ Entreprenuer กับความหมายที่เพิ่มพูนเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา
หมายเหตุ: บทความนี้มิใช่บทความทางวิชาการ เป็นบทความเพื่อการแบ่งปันมุมมองต่อปัญหาของประเทศไทยในวิธีการมองแบบหนึ่งเท่านั้น 
โดย ปรมินทร์ เยาว์ยืนยง

Related Content:
EP 1 นิยามของ Entreprenuer กับความหมายที่เพิ่มพูนเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา
EP 2 ประเภททักษะแห่งการประกอบการ (ในทัศนะของผู้เขียน)

EP 3 ทักษะแห่งการประกอบการที่พึงมี
EP 4 Entreprenuerial Mideset กระบวนคิดและลงมือทำของผู้ประกอบการ
EP 5 ​ความเข้าใจผิดในการประกอบการในสังคมไทย ช่วยกันเปลี่ยน ช่วยกันปรับ เพื่อประเทศแห่งการประกอบการ 
EP 6 มาร่วมสร้าง Eco-System ของสังคมอุดมนักประกอบการ 
EP 7 มาเป็น Charles Xavier ให้กับสังคมอุดมนักประกอบการกัน
EP 8 ประเทศไทยจะเปลี่ยนแปลงเช่นไร เมื่อเราสร้างสังคมอุดมนักประกอบการ
​
Picture
The word “entrepreneur” originates from a thirteenth-century French verb, entreprendre, meaning “to do something” or “to undertake.” By the sixteenth century, the noun form, entrepreneur, was being used to refer to someone who undertakes a business venture. ​
ที่มา www.econlib.org เขียนโดย Russell S. Sobel is a professor of economics and James Clark Coffman Distinguished Chair in Entrepreneurial Studies at West Virginia University, and he was founding director of the Entrepreneurship Center there.
       Entreprenuer มีรากศัพท์มาจากภาษาฝรั่งเศษ ในคริตศตวรรษที่ 13 มีความหมายว่า ทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือดำเนินการสิ่งใดสิ่งหนึ่ง (ซึ่งแน่นอนว่า การลงมือทำสิ่งใด ๆ นั้น ย่อมมาจากปัญหาที่พบ และลงมือแก้ไขปัญหา อันเป็น keyword สำคัญของบทความนี้) ในช่วงคริสตศตวรรษที 16 นับตั้งแต่มีการเปลี่ยนแปลงสำคัญๆ เช่น การล่าอาณานิคม และการปฏิวัติอุตสาหกรรม ซึ่งเป็นแรงผลักดันให้เหล่าพ่อค้า นักประดิษฐ์ นักเลน่แร่แปรธาตุ เริ่มสร้างนวตกรรมให้เกิดขึน และการค้าเริ่มขยายตัว จนเกิดเป็นการประกอบการที่เป็นขั้นกว่าของแนวคิด craftman แบบในยุคกลาง เกิดเป็นพลวัตทางเศรษฐกิจ Entreprenuer จึงมีนิมยามที่แปลตั้งแต่ช่วงนั้นว่า การประกอบการการค้า และการดำเนินธุรกิจ และใช้ความหมายเช่นนี้ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา (ผู้แปล และอธิบายโดยเพิ่มนัยยะทางประวัติศาสตร์เพิ่มเติม)
       โดยประมาณปี ค.ศ. 1730 ได้เกิดวิทยาลัยการประกอบการที่สร้างโดยนักเศรษฐศาสตร์ชื่อ Richard Cantillon ซึ่งทำให้นิยามของ Entreprenuer แจ่มชัดขึ้น โดยนิยามว่า ความพยายามแก้ไขปัญหาที่เกิดจากความเสี่ยงด้านการเงินส่วนบุคคล หรือกล่าวให้ชัดเจนคือ การหารายได้เพื่อแก้ไขปัญหารายจ่าย (ผู้แปล)  ในราวปี ค.ศ. 1800 นักเศรษฐศาสตร์ ชื่อ Jean-Baptiste Say กับเพื่อน John Straurt Mill ได้สร้างให้คำว่า Entrprenuer เป็นคำที่มีความหมายชัดเจนแบบในปัจจุบัน โดยเน้นว่า หน้าที่ของผู้ประกอบการคือการสร้างคุณค่า ด้วยการทำให้ทรัพยากรที่มีจำกัดนั้นเกิดประโยชน์อย่างสูงที่สุด 
(ในภาษาไทยแปลว่าการประกอบการ และหรือผู้ประกอบการ และในช่วงดังกล่าว คือช่วงที่การปฏิวัติอุตสาหกรรมเริ่มเกิดขึ้นที่อเมริกา) โดยที่ John Struart Mill ได้ตีพิมพ์นิยามของ Entreprenuer ในหนังสือที่มีชือเสียงของเขาชื่อ Principles of Political Economy ในปี 1848 โดยเพิ่มเติมนิยามของ Entreprenuer ให้เต็มความหมายและเป็นที่เข้าใจเช่นในปัจจุบัน โดยระบุว่า ผู้ประกอบการ หรือเจ้าของธุรกิจในรูปแบบอื่น ๆ ไม่ว่าจะเป็น ผู้ลงทุนผู้ถือหุ้น หรือบุคคลากรขององค์กร นั้นมองปัญหาในระยะยาวเพื่อหวังผลที่เกิดขึ้น มิได้ทำเพียงการประกอบการและจัดการแบบวันต่อวันให้กับบริษัทหรือองค์กร
    ในศตวรรษที่ 20 Joseph Schumpeter และ Isreal Kirzner ได้เพิ่มเติมความหมายของ Entreprenuer ผ่าน Academic Understadning of Entreprenuership โดยให้ความสำคัญกับหน้าที่ของผู้ปรรกอบการว่า เป็นนวตกรซึ่งสร้างความเปลี่ยนแปลงให้กับระบบเศรษฐกจโดยนำเอาผลิตภัณฑ์ใหม่ และหรือกรรมวิธีในการผลิตรุปแบบใหม่ เพื่อเอาชนะความต้องการของตลาด (ผู้แปล; ท่านต้องเข้าใจว่าบริบทของ Product Centric ใน Marekting 1.0) โดย Kirzner ใช้คำว่า Entreprenuership as a Process of Discovery และวิธีการคิดเช่นนี้เป็นต้นตำรับของ Australian Schools of Economics ในยุคต่อมา
        นิยามของ Entreprenuer แปรผันตามยุคสมัย ในช่วงปี ค.ศ. 1980-1990 นิยามของ Entreprenuer ที่เป็นมรดกจากยุค Product Centric จากช่วง 1800 เปลี่ยนแปลงไปเช่นกัน ไม่ว่าจะเป็นแนวคิดของการวัดขนาดของการประกอบการด้วยจำนวนกิจกรรมและดัชนีต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของ ระดับการจ่ายภาษี, จำนวนการจ้างงานขององค์กร ประกอบกับรูปแบบของการประกอบการเปลี่ยนแปลงจากองค์กรขนาดใหญ่มาสู่หน่วยที่เล็กลง จนทำให้นิยามของการประกอบการ เปลี่ยนแปลงไป และเกิดผู้ประกอบการรายย่อย Individual Entreprenuer, ผู้ประกอบการท้องถิ่น และจนเป็นผู้ประกอบการด้านเทคโนโลยี หรือ Tech-Startup ดังเช่นในศคตวรรษที่ 21 นี้ (เติมโดยผู้เขียน)
        ท่านผู้่อ่านจะสังเกตุได้ว่า "นิยาม" เปลี่ยนแปลงไปตาม "บริบท" ของสังคม ซึ่งเกิดขึ้นกับทุกเรือง เพียงแต่คำอธิบายนั้นถูกแบ่งแยกอกไปในสายวิชาที่พยยามจะอธิบายในมุมมองของตนเอง (Silo Based Interpretation) ในกรณีนี้ Entreprenuer นั้น ยังคงคงรากศัพท์หรือหัวใจสำคัญ คือ การแก้ปัญหา ความสามารถในการแก้ปัญหา การจัดการ ผ่านโลกของธุรกิจในรูปแบบต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นนั่นเอง และการแก้ปัญหาต่างๆ เหล่านี้ จะต้องประกอบด้วยทักษะต่าง ๆ อีกมาก ซึ่งจะกล่าวในหัวข้อต่อไป
0 Comments



Leave a Reply.

Picture
Picture
Picture
Picture

MonsoonSIM; The business simulation platform for learning and training
more to teach more to learn, easy to teach  easy to learn

MonsoonSIM Thailand by Zonix Services Co.,Ltd. is official reseller in Thailand