ตอนที่ 5 ความเข้าใจผิดในการประกอบการในสังคมไทย ช่วยกันเปลี่ยน ช่วยกันปรับ เพื่อประเทศแห่งการประกอบการ
หมายเหตุ: บทความนี้มิใช่บทความทางวิชาการ เป็นบทความเพื่อการแบ่งปันมุมมองต่อปัญหาของประเทศไทยในวิธีการมองแบบหนึ่งเท่านั้น ใน EP 5 นี้จะว่าด้วย ความเข้าใจผิดในการปรกอบการในสังคมไทย ช่วยกันเปลี่ยนช่วยกันปรับเพื่อประเทศแห่งความอุดมนักประกอบการ
โดย ปรมินทร์ เยาว์ยืนยง
Related Content:
EP 1 นิยามของ Entreprenuer กับความหมายที่เพิ่มพูนเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา
EP 2 ประเภททักษะแห่งการประกอบการ (ในทัศนะของผู้เขียน)
EP 3 ทักษะแห่งการประกอบการที่พึงมี
EP 4 Entreprenuerial Mideset กระบวนคิดและลงมือทำของผู้ประกอบการ
EP 5 ความเข้าใจผิดในการประกอบการในสังคมไทย ช่วยกันเปลี่ยน ช่วยกันปรับ เพื่อประเทศแห่งการประกอบการ
EP 6 มาร่วมสร้าง Eco-System ของสังคมอุดมนักประกอบการ
EP 7 มาเป็น Charles Xavier ให้กับสังคมอุดมนักประกอบการกัน
EP 8 ประเทศไทยจะเปลี่ยนแปลงเช่นไร เมื่อเราสร้างสังคมอุดมนักประกอบการ
หมายเหตุ: บทความนี้มิใช่บทความทางวิชาการ เป็นบทความเพื่อการแบ่งปันมุมมองต่อปัญหาของประเทศไทยในวิธีการมองแบบหนึ่งเท่านั้น ใน EP 5 นี้จะว่าด้วย ความเข้าใจผิดในการปรกอบการในสังคมไทย ช่วยกันเปลี่ยนช่วยกันปรับเพื่อประเทศแห่งความอุดมนักประกอบการ
โดย ปรมินทร์ เยาว์ยืนยง
Related Content:
EP 1 นิยามของ Entreprenuer กับความหมายที่เพิ่มพูนเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา
EP 2 ประเภททักษะแห่งการประกอบการ (ในทัศนะของผู้เขียน)
EP 3 ทักษะแห่งการประกอบการที่พึงมี
EP 4 Entreprenuerial Mideset กระบวนคิดและลงมือทำของผู้ประกอบการ
EP 5 ความเข้าใจผิดในการประกอบการในสังคมไทย ช่วยกันเปลี่ยน ช่วยกันปรับ เพื่อประเทศแห่งการประกอบการ
EP 6 มาร่วมสร้าง Eco-System ของสังคมอุดมนักประกอบการ
EP 7 มาเป็น Charles Xavier ให้กับสังคมอุดมนักประกอบการกัน
EP 8 ประเทศไทยจะเปลี่ยนแปลงเช่นไร เมื่อเราสร้างสังคมอุดมนักประกอบการ
นับตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 เป็นต้นมา เมื่อความหมายของ Entreprenuership เปลี่ยนจากการแก้ปัญหาในกิจกรรมใด ๆ เป็น การแก้ปัญหาทางเศรษฐกิจ และการเกิดขึ้นของ Silo Based Teaching ในรูปแบบของ Academic ก็ทำให้ เกิดความเข้าใจผิดเรื่อยมา ผู้เขียนมิกล้าที่จะบอกว่า ความคิดแบบนี้ประขายไปทั้งโลก เลยขอจำกัดที่ประเทศไทย เพราะว่าผู้เขียนเป็นหนึ่งใน Stakeholders ที่พัฒนาการเปลี่ยนแปลงมาตามอายุ (และน้ำหนัก) ที่เพิ่มพูน
การประกอบการเป็นเรื่องของภาคธุรกิจเท่านั้น
ความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน และการใช้คำว่า "การประกอบการ" หรือ "ผู้ประกอบการ" ถูกแปลไปว่าเป็นองค์กรภาคเอกชน ทั้ง ๆ ที่ การ แปลว่า งาน หรือ ผู้ที่ทำงานแก้ปัญหาใด ๆ ส่วนหนึ่งเป็นเพราะว่า ความหมายที่มาจากโลกตะวันตก มีการเปลี่ยนแปลงนิยตั้งแต่ ราว ค.ศ. 1800 เป็นต้นมา (โปรดอ่าน EP1) หลักการที่ผู้เขียนเสนอ คือ Input (ของแหล่งทุน) - Vision & Mission (วัตถุประสงค์) - Execution (รุปแบบการดำเนินการ) - Output (ผลลัพท์) - Measuarement (การวัดผล) คือ แกนหลัก 5 เรื่องที่เป็นหลักของการแข่งประเภทของการประกอบการ
ผู้เขียนจะขอแบ่งการประกอบการออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่
- Private Sector หรือ การประกอบการในภาคธุรกิจ ซึ่งแสวงหาผลกำไรจากการประกอบการ ซึ่งในที่นี่ คือ การนำสินค้าและบริการ หรือรวมกันในรุปแบบของโซลูขั่น ไปแก้ไขปัญหาให้กับลูกค้า ทั้งที่เป็นผู้ซื้อ และผู้ใช้ที่มีคนซื้อให้ ซึ่งตรงกับความหมายที่คนส่วนมากเข้าใจ ส่วนมากอยู่ในภาคเอกชน ในภาคเอกชน การประกอบการ คือ ความอุตสาหะที่แลกด้วยทุน จากแหล่งต่างๆ เช่น ในธุรกิจขนาดเล็ก คือ ทุนของเจ้าของ, ในขนาดที่ใหญ่ขึ้น คือ ส่วนของผู้ถือหุ้น หักลบกับส่วนต่างของการลงทุนกับการขายในรูปแบบใด ๆ เป็นการชี้วัดกันที่ตัวเงิน ที่ต้องทำให้เกิด Surplus จากการประกอบการ เพราะว่า Surplus ในระดับองค์กร คือ ความมั่งคั่ง การเติบโตขององค์กร โอกาสที่จะเพิ่มพูนมากขึ้น ในระดับบุคคลากร เช่นผู้บริหาร ผู้ถือหุ้น คือ ผลตอบแทนจากเงินลงทุน ในส่วนของพนักงานลูกจ้าง คือ ความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น บ้านที่สะดวกสบายโอโถง โรงเรียนที่ดีขึ้นของลุกหลาน เป็นต้น ซึ่งทั้งหมดต้องแลกมาด้วยการแข่งขันจาก "จำนวน" คู่แข่งในตลาดที่มีเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ในขณะที่ฐานของตลาดมีขนาดเท่าเดิม หรือเติบโตช้า ในภาคเอกชนจึงวัดกันที่การแก้ปัญหาที่ต้องอาศัยวิธีการที่ลงทุนน้อยแต่ได้มาก ลงทุนในระยะสั้นเพื่อผลตอบแทนระยะยาว ความเสี่ยงของการบริหารจัดการ คือ การหายไปของอรรถประโยชน์ที่เกิดขึ้นกับ Stake Holder ทุกฝ่าย ผลตอบแทนยิ่งสูงเมื่อประสิทธืภาพและรายได้เพิ่มขึ้น ทั้งนี้ ในปัจจุบัน องค์กรภาคเอกชนก็มีปัญหาด้าน Entrepresnuership เช่นกัน เพราะว่า ระบบการบริหาร สร้างให้บุคลากรเป็นลูกจ้างมืออาชีพ มากว่าหุ้นส่วนของความสำเร็จ
- Public Sector and Governement Bureau การประกอบการในภาครัฐ หรือ รัฐวิสาหกิจ หรือ องค์กรที่ไม่แสดงหาผลกำไร (NGO) เพื่อประโยชน์ขององค์กรที่มุ่งหวังการแก้ปัญหาหนึ่ง ๆ มีวัตถุประสงค์หลัก ซึ่งไม่ได้หวังผลกำไรเป็นหลัก พบมากในองค์กรภาครัฐ และรัฐวิสาหกิจ ซึ่งไม่แสวงหาผลกำไร หรือในภาคประชาสังคม ซึ่งมีทั้งในรูปแบบที่ประสงค์กำไร และไม่ประสงค์กำไร การประกอบการแนวนี้หลุดออกจากความเข้าใจของสังคม ทั้ง ๆ ที่วิธีการในการจัดการปัญหาวัตถุประสงค์เดียวกัน แต่วัดผลแตกต่างกัน ในองค์กรภาครัฐ จะวัดผลเช่น ความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นของประชาชน, ประสิทธิภาพการบริหารที่ดีขึ้น เป็นต้น องค์กรภาครัฐ หรือ รัฐวิสาหกิจ นั้น เงินลงทุนมิใช่ของส่วนตัว แต่เป็นเงินเงินรายได้จากภาษี สัมปทาน ส่วนแบ่งจากประกอบการที่เอกชนทำสัญญากับรัฐ ในฐานะที่รัฐเป็นเจ้าของโดยนิตินัยทางกฎหมายของทรัพยากรในประเทศ องค์กรของรัฐ และรัฐวิสาหกิจโดยประวัติศาสตร์เมื่อเริ่มก่อตั้ง คือ การลงทุนใน Facility หรือสร้างโครงข่ายการบริหารที่รัฐใช้ในการควบคุม กำกับดูแล ในฐานะคนกลาง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการบริการต่อสังคมเป็นหลัก โดยมิได้มุ่งหวังกำไร ในระดับองค์กรของภาครัฐ การบรรลุเป้าหมายอาจมีความสำคัญแต่ไม่ได้มีน้ำหนักมากนัก เพราะว่าความไม่มีเสถียรภาพ ความไม่ต่อเนื่องทางนโยบายของนักการเมืองที่มาดูแล ข้อจำกัดด้านการใช้งบประมาณ และการเบิกจ่ายในรอบต่อไปไม่ได้วัดที่ประสิทธิภาพของโครงการ แต่วัดที่เบิกจ่ายได้อย่างเต็มวงเงินหรือไม่ ไม่ได้สนใจเรื่องการรั่วไหลของงบประมาณ องค์กรจึงไม่ได้ต้องการความเติบโตในเชิงประสิทธิภาพเท่าใดนัก หากแต่จำนวนของโครงการที่ใช้ในการเสนอ จะบ่งบอกถึงเงินงบประมาณที่จะเข้าสู่หน่วยงานต่าง ๆ และบุคลากรภาครัฐ ก็มีหน้าที่ใช้เงินงบประมาณโดยไม่ต้องหวังประสิทธิภาพ เพราะว่า จะมีส่วนต่าง หรือความงอกเงยของประโยชน์สาธารณหรือไม่ ไม่เป็นปัจจัยหลักในการมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น เพราะว่ามีปัจจัยอื่น ๆ และช่องทางอืน ๆ ให้ก้าวหน้าต่อไป และเพิ่มฐานเงินเดือนได้ (พูดมากกว่านี้อาจจะถูกยิงได้ ขอละไว้ในฐานที่เข้าใจครับ)
สิ่งสำคัญใน Entreprenuership คือ ผลลัพท์ที่เกิดจากการ Co-operation หรือความร่วมมือของสมาชิกในองค์กรในทางทฤษฎี ในทางปฏิบัติ คือ Co-Value Creation หรือสร้างประโยชน์ร่วมกัน ในความเรียบง่ายขอให้คำอะิบายเพียงว่า ส่วนหนึ่งแก้ปัญหาในงานของตนเอง เพื่อประโยชน์ของบุคคลากร และเป็นงานส่วนหนึ่งขององค์กรเพื่อประโยชน์ขององค์กร ให้ประสานกัน มีประสิทธิภาพ ในภาคเอกชน อาจะเน้นไปที่ surplus ส่วนบุคคลเป็นหลัก ทว่าบุคลากรมีเป้าหมายที่สูงขึ้นและทราบว่าต้องทำให้บรรลุ KPI ที่องค์กรให้ได้ เพื่อไปยังจุดหมายในชีิวิต และการกระทำนี้เองทำให้ Surplus ในส่วนองค์กรเกิดขึ้นด้วย
ทว่าในองค์กรของรัฐนั้น เน้นที่ประโยชน์ที่จะได้ขอตนเป็นหลัก อาศัยกลไก และโชคช่วย หรือ ยืมมือเอกชนในโครงการทำให้สำเร็จ เจ้าหน้าที่เป็นเพียงคนประสานงาน แทยจะไม่ได้ลงมือทำอะไรเอง แต่ได้ผลประโยชน์ใฝนนามส่วนตัว หน้าที่หลักคือ การตรวจสอบคู่สัญญา ตรวจสอบความก้าวหน้าในโครงการต่าง ๆ มีส่วนหนึ่งซึ่งเป็นงานประจำวัน ก็ไม่ได้คาดหวังให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด จึงไม่มี sense of Entreprenuership ในองค์กรภายรัฐในประเทศไทย การประกอบการมีเป้าหมาย วิธีการ และปัจจัยแวดล้อมต่างกัน ผลที่เกิดขึ้นจึงแตกต่างกัน
ฝ่ายหนึ่งมุ่งแก้ปัญหาใด ๆ เพื่อความงอกเงยโดยอาศัยความพยายาม ในขณะที่ความงอกเงยของอีกฝ่ายเป็นไปตามขั้นตอน จำนวนงาน อายุงาน ความสัมพันธ์ และเส้นสาย ทำให้การประกอบการไม่เคยเป็น COMMON PRACTICE ในองค์กรภาครัฐเลย
ในภาคการศึกษาทั้งแบบภาครัฐ และเอกชน เป็นข้อยกเว้นจากบริบททั้งสอง เพราะว่าวิธีการวัดผล ไม่สอดคล้องกับ Vision Mission จึงมี Execution แตกต่างกันไป ซึ่งทำให้ภาคการศึกษายิ่งห่างไกลออกไปจาก Entreprenuership เป็นแบบแปลกพิเศษ ความแปลกคือ ปัญหาของตลาดไม่ถูกแก้ไข แทบไม่ได้รับฟังตลาด ไม่สนใจ Buyer มีบ้งที่สนใจ End user และการวัดผลสวนทางกับเป้าหมาย สำหรับผู้เขียน Entreprenuership จำเป็น ไม่ว่าองค์กรจะเป็นองค์กรใด และความน่ากลัวที่สุด คือ ไม่มี Entreprenuership ในภาคการศึกษาในประเทศไทย
การประกอบการเป็นคุณสมบัติพื้นฐานของทุกองค์กร ไม่จำกัดว่าจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคสังคม ภาคการศึกษา ฯลฯ การประกอบการที่ดี หมายถึง มีหลักคิด, วิธีลงมือปฎิบัติ, วิธีตรวจสอบวัดผล ซึ่งวางอยู่บนพื้นฐานของการทำงานประสานกันในองค์กร
นักประกอบการ คือ เจ้าของธุรกิจ และหัวหน้าหน่วยงาน หรือเป็นเรื่องพิเศษเฉพาะบุคคล นอกจากความเข้าใจผิดเรื่องการประกอบการจะต้องเป็นหน่วยงานภาคเอกชนแล้ว ซึ่งจริงๆ แล้ว ทุกองค์กรควรเป็นองค์กรที่สร้างและทำงานด้วยการประกอบการที่ดี ทว่า สมาชิกในแต่ละองค์กร ไม่ว่าจะเป็นภาคเอกชน หรือ ภาครัฐ (แต่จะเป็นในภาครัฐมากกว่า) คือ หน้าที่ บทบาท และความรับผิดชอบต่อองค์กร กับการเป็นนักประกอบการในองค์กร ทั้งนี้ผู้เขียนขอเรียกวา ส่วนของความร่วมมือ ส่วนของคุณค่าร่วม และความรับผิดชอบต่อองค์กร น่าจะเป็นคำที่เหมาะสม สำหรับนักประกอบการในองค์กรใด ๆ จะมีวิธีคิดดังนี้
|
ผู้เขียนถูกใจภาพประกอบด้านขวามือ จึงนำมาเป็นส่วนเสริมในบทความนี้ด้วย ทั้งนี้ได้แปลส่วนหนึ่ง และเพิ่มเติมเนื้อหาส่วนหนึ่งลงไปประกอบ
|
|
|
หากวัดจากความพยายามในการประกอบการ และบริบาทที่ภาพด้านบนแสดง concetp ไว้ ก็จะมีการลงความเห็นว่าผู้ประกอบการ คือ คนที่เป็นหัวหน้าหน่วยงาน หรือเจ้าของกิจการที่ต้องอุทิศตัวมากบุคลากรทั่วไป ความคิดแบบนี้เป็นความคิดที่ทำให้ประเทศไทยห่างไกลจากการเป็นประเทศที่อุดมด้วยนักประกอบการ ต้องมอกงกลับไปให้เข้าใจว่า มีสาเหตุมาจากปัจจัยใดบ้าง ผู้เขียนได้ลองพิจารณาพบว่า
สิ่งเหล่านี้ประกอบกันหลาย ๆ รูปแบบ ทำให้คนเก่งในด้านอื่น ๆ รุปแบบนี้ ทำให้แนวคิดเรื่องนักประกอบการ กลายเป็น "ของพิเศษ" สำหรับคนพิเศษเท่านั้น ทั้งๆ ที่ควรจะแก้ไขให้เกิดแนวคิดที่ว่า ทุกคนเป็นนักประกอบการ นักแก้ปัญหาในแบบของตน สังคมอาจจะต้องเปลี่ยนวิธีการวัดความเก่ง และหันไปตอบแทนคนที่มีศักยภาพในการแก้ปัญหา หรือ Ebtrepernuership ที่หลากหลาย
- ระบบสังคม กติกาของสังคม และค่านิยมของสังคม เช่น
- รักความสบาย ซึ่งอาจากความสมบูรณ์ของทรัพยากรในอดีต สภาพอากาศ ที่กำหนดภูมิสังคม เป็นปัจจัยครอบระบบ กติกา ค่านิยม คนไทยไม่ทำอะไรยาก คนที่ลงมือทำในโจทย์ที่ยาก ๆ ถูกมองว่าเป็นคนบ้า หรือทำเกินหน้าเกินตาคนอื่น ๆ วิธีคิดนี้สร้างให้คนทั่วไปไม่กล้าลุกขึ้นมาแสดงตัว หรือออกความเห็น แสดงศักยภาพที่ตนเองมี เพราะหากแสดงตัวในสังคมเมื่อใด จะถูกยัดเยียดความเป็นผู้นำ หรือ เพิ่มภาระความรับผิดชอบ โดยไม่มีสิทธิปฏิเสธด้วยเสียงหมู่มากของคนอื่น ๆ ที่ไม่อยากรับผิดชอบ โชคร้ายที่สิ่เหล่านี้ถูกทำซ้ำ และส่งต่อความคิดจากรุ่นสู่รุ่่นให้ไม่แสดงความสามารถออกมา ทั้งในบทประพันธ์ วรรณกรรม
- ระบบที่ให้ความสำคัญต่อความอาวุโส มากกว่าความสามารถที่แท้จริง อย่าเด่นเกินนายเพราะว่าจะเป็นภัย
- คนไทยใช้การวัดผลจากเรื่องเดียว โดยวัดผลจากเรื่องร้าย มากกว่าเรื่องดีดี การทำงานหรือลงมือแก้ปัญหานั้น มีโอกาสที่จะล้มเหล่ว ทว่าคนไทยเป็นคนเสพติดความสุข และความสำเร็จ เป็นคนที่สนใจจะพูดเรื่องและแสดงความเห็นร้าย ๆ อย่างเผ็ดร้อน ทำร้ายกันด้วยความเห็น มากกว่าชื่นชมใในความสำเร็จ ต่อให้มีสุภาษิตที่ว่า "คนล้มอย่าข้าม" เพื่อสอนใจคนก็ตาม
- แนวคิดศรีปราชญ์ เอาตัวรอด หรือทำงานด้วยวาจา (ซึ่งเรียกว่า วาทกรรม ใน Postmoderism) วัฒนธรรมการอุ้มชูคนที่พูดเก่ง แสดงเก่ง แต่ไม่ได้ทำงาน ทำให้คนหมดกำลังใจ ไม้กล้าแสดงความเป็นนักประกอบการออกมา เพื่อการปกป้องความสงบสุขของตนเอง ค่านิยมในการหาเอาตัวรอดด้วยอฎิภาณไหวพริบ หากคนไทยลงมือแล้วผิดพลาด ไม่ประสบผลสำเร็จ เราจะมีวิธีการปลอบใจตัวเอง ด้วยการ "ติเรือทั้งโกลน" การโทษโลก หรือ External Factor เป็นงานถนัดของคนไทย
- การเสพติดความสำเร็จ คนไทยและระบบการทำงานแบบไทย จะหลีกเลี่ยงการแสดงความล้มเหลว ซึ่งทำให้คนไทยไม่เคยเรียนสาเหตุแห่งความล้มเหลว ทำให้เราไม่เป็นนักแก้ปัญหา เพราะว่าเมื่อเราผิดพลาด เราจะกลบความผิดพลาดด้วยวิธีต่าง ๆ
- รักความสบาย ซึ่งอาจากความสมบูรณ์ของทรัพยากรในอดีต สภาพอากาศ ที่กำหนดภูมิสังคม เป็นปัจจัยครอบระบบ กติกา ค่านิยม คนไทยไม่ทำอะไรยาก คนที่ลงมือทำในโจทย์ที่ยาก ๆ ถูกมองว่าเป็นคนบ้า หรือทำเกินหน้าเกินตาคนอื่น ๆ วิธีคิดนี้สร้างให้คนทั่วไปไม่กล้าลุกขึ้นมาแสดงตัว หรือออกความเห็น แสดงศักยภาพที่ตนเองมี เพราะหากแสดงตัวในสังคมเมื่อใด จะถูกยัดเยียดความเป็นผู้นำ หรือ เพิ่มภาระความรับผิดชอบ โดยไม่มีสิทธิปฏิเสธด้วยเสียงหมู่มากของคนอื่น ๆ ที่ไม่อยากรับผิดชอบ โชคร้ายที่สิ่เหล่านี้ถูกทำซ้ำ และส่งต่อความคิดจากรุ่นสู่รุ่่นให้ไม่แสดงความสามารถออกมา ทั้งในบทประพันธ์ วรรณกรรม
- ระบบการศึกษา
- การวัดผลที่มีรูปแบบเดียว โดยยกย่องความสามารถทางวิชาการเหลือความสามารถด้านอื่น ๆ ระบบการศึกษาไทยที่มีพื้นฐานมากจากประวัติศาสตร์ ที่การศึกษาเริ่มต้นด้วยข้อจำกัด การศึกษาในยุคแรกเป็นของเจ้านาย หรือชนชั้นสูงเท่านั้น ความกระหายอยากจะมีความรู้ต้อง "ครูพักลักจำ" เอา การจะถึงยุคที่การศึกษาเป็นพื้นฐานของคนทั้งมวล ภาคการศึกษาพิเศษยังขึ้นอยู่กับ ฐานะ และเชื้อชาติอีก ในยุคตั้งแต่ตลาดวิชา การเกิดขึ้นของโรงเรียนหลวง และมหาวิทยาลัยที่จำกัดจำนวน คนไทยจึงเชื่อว่า การศึกษาคือโอกาสที่ดีกว่า จึงให้ความสำคัญแก่การเก่งที่เกิดจากการเรียนเท่านั้น
- ระบบการศึกษาที่ไม่ได้สร้าง "นักคิด" คนไทยเป็น "นักทำ" โดยลงมือทำทันที ไม่พิจารณาปัจจัยแวดล้อม เราจะทำไปแก้ไขไป วิธีนี้ต้องโทษตั้งแต่ระบบการศึกษาที่นอกจะไม่สอนให้คิดเป็นแล้ว ครูอาจารย์ในรุ่นโบราณยังเอาแต่ชื่นชมคนจำนวนน้อยที่เก่ง หรือโดดเด่นกว่าในเชิงวิชาการ ถูกเรียกว่า "ฉลาด" หรือมองเฉพาะ ด้าน IQ ในขณะที่ทิ้งรอยแผลไว้กับคนจำนวนมาก เกิดเช่นนี้วนลูปไป และถูกทำซ้ำมานาน ในชั้นเรียน อาจารย์รุ่นเดิมไม่เคยถามว่า นักศึกษาพลาดจากสาเหตุใด และเรียนรู้อะไรบ้าง
- การวัดผลที่มีรูปแบบเดียว โดยยกย่องความสามารถทางวิชาการเหลือความสามารถด้านอื่น ๆ ระบบการศึกษาไทยที่มีพื้นฐานมากจากประวัติศาสตร์ ที่การศึกษาเริ่มต้นด้วยข้อจำกัด การศึกษาในยุคแรกเป็นของเจ้านาย หรือชนชั้นสูงเท่านั้น ความกระหายอยากจะมีความรู้ต้อง "ครูพักลักจำ" เอา การจะถึงยุคที่การศึกษาเป็นพื้นฐานของคนทั้งมวล ภาคการศึกษาพิเศษยังขึ้นอยู่กับ ฐานะ และเชื้อชาติอีก ในยุคตั้งแต่ตลาดวิชา การเกิดขึ้นของโรงเรียนหลวง และมหาวิทยาลัยที่จำกัดจำนวน คนไทยจึงเชื่อว่า การศึกษาคือโอกาสที่ดีกว่า จึงให้ความสำคัญแก่การเก่งที่เกิดจากการเรียนเท่านั้น
สิ่งเหล่านี้ประกอบกันหลาย ๆ รูปแบบ ทำให้คนเก่งในด้านอื่น ๆ รุปแบบนี้ ทำให้แนวคิดเรื่องนักประกอบการ กลายเป็น "ของพิเศษ" สำหรับคนพิเศษเท่านั้น ทั้งๆ ที่ควรจะแก้ไขให้เกิดแนวคิดที่ว่า ทุกคนเป็นนักประกอบการ นักแก้ปัญหาในแบบของตน สังคมอาจจะต้องเปลี่ยนวิธีการวัดความเก่ง และหันไปตอบแทนคนที่มีศักยภาพในการแก้ปัญหา หรือ Ebtrepernuership ที่หลากหลาย
การประกอบการควรถูกสอนในคณะสายบริหารธุรกิจ และการจัดการเท่านั้น
ต่อไปนี้เป็นความเห็นส่วนตัวของผู้เขียนจากการที่คลุกคลีกับภาคการศึกษาในระดับปริญญาตรีมากว่า 5 ปี พบเจอผู้เกี่ยวข้องในระบบการศึกษามาอย่างมากมาย และได้เห็นความแตกต่างและความเหมือน ในกระบวนการทางการศึกษาของไทยมากว่า 26 มหาวิทยาลัย 50 กว่าสาขาวิชา ถ้าผู้อ่านเปิดใจไม่ได้ ขอแนะนำให้ข้ามวรรคนี้ไปครับ
ผู้เขียนขอพุ่งเป้าไปที่การศึกษาระดับ Higher Education ระดับ ปริญญาตรี เป็นหลักในประเด็นนี้ (แต่ไม่ได้หมายความว่า การศึกษาที่เป็น Fundamental ไม่ควรส่งเสริมให้เกิด Entreprenuership นะครับ) เป็นความพิสดารที่บรรดาคณบดี อธิการบดี ประธานหลักสูตรต่าง ๆ ก่อนการบูมของยุค Start up แบบการแข่งขันเพื่อชื่อเสียงของสถาบันการศึกษาจะเกิดขึ้น (ในราวปี 2558 -2561 จากนโยบายของภาครัฐ) แทบไม่เคยเห็นว่า Entreprenuership เป็นเรืองสำคัญ และในทุกวันนี้บาง School ในมหาวิทยาลัย ยังคงไม่เห็นความสำคัญด้วยซ้ำไป
เราจะพบเห็นโลกทัศน์ ความรู้ ทักษะ ที่แยกกันโดยสิ้นเชิงในแต่ละสาขาวิชา ที่ยังวางอยู่บนชุดความรู้ในศตวรรษที่ 19 หรือราว 200 ปีก่อน เป็นสำคัญ ที่เพิ่มเติมมา คือ ความซับซ้อน (ความเยอะ ความรุ่มร่าม ความเว่อร์วังอลังการ แบบ "มันต้องมี") เพื่อ propaganda หลักสูตรและชื่อเสียงของสถาบันการศึกษา ซึ่งพบว่าในรอบหลายสิบปีที่ผ่านมา ในนามของวิทยาลัยและสถาบัน ได้รับการรับรองคุณภาพจาก งานวิจัยของบุคลากร ซึ่งไม่ได้สอดคล้องกับคุณภาพของนักศึกษาเลย
เราจะพบว่า ในชั้นปีที่ 1 ในรั้้วมหาวิทยาลัยส่วนมาก จะเป็นวิชาพื้นฐาน ซึ่งบางวิชาพื้นฐานเหล่านั้น แบ่งเป็น วิชาพื้นฐานที่ไม่แน่ใจว่ามีความสำคัญไหม ที่แน่ ๆ คือ เป็นวิชานับหน่วยกิจพื้นฐานเพื่อให้ครบหลักสูตร แบบมั่วไปที่กำหนดกโดยหน่วยงานไร้วิสัยทัศน์ทางการศึกษาชุดหนึ่ง ประกอบกับจำนวนนักศึกษาต่อ Section ในวิชาที่เป็นวิชาพื้นฐานนี้ มีมากเสียจน เป้าประสงค์ที่เขียนไว้อย่างสวยหรูใน มคอ. หมายเลขต่าง ๆ นั้น เป็นเพียงข้อความในเอกสารที่ทำไม่ได้ วิชา Entreprenuership มีบ้างในบางมหาวิทยาลัย แต่ด้วยจำนวนนักศึกษา นั้น มันคือ การท่องจำเพื่อสอบให้ผ่าน มากกว่า จะสามารถนำไปใช้ปฏิบัติจริงได้ และหากไม่ใช่สายคณะด้านบริหารจัดการ จะแทบไม่พบวิชาเหล่านีอีกเลยในหลักสูตรเฉพาะทาง
ในปี 2-4 ผู้เขียนขอให้ข้อมูลว่า ในรอบ 7-10 ปีที่ผ่านมา มีการปรับหลักสูตร ลดจำนวนหน่วยกิจลง จากระบบเหมาจ่ายของสถาบันการศึกษา ผลกระทบที่เกิดขึ้น คือ การเรียนในวิชาโท ได้หายไปจากหลักสูตรส่วนใหญ่ในการศึกษาปริญญาตรี เปลี่ยนเป็นการศึกษาในวิชาเฉพาะ ซึ่งทำลายโอกาสในการศึกษาวิชาอืน ๆ ซึ่งเป็นพื้นฐานของ Entreprenusrship ทำลายความหลากหลายทางมุมมองในการวิเคราะห์ปัญหา, ทำลายวิธีการสร้างสังคมที่มีความแตกต่างกันในกระบวนความคิด เป็นตั้งกำแพงให้นักศึกษาที่ถูกสอนให้คิดแบบเดียวกันมาอยู่ด้วยทกัน ทักษะที่เป็น People Skills ก็หายไป และยิ่งพัฒนาสู่ความเป็น Silo Based Studey to Exam
ในปี 3-4 มีสิ่งที่เรียกว่า "วิชาสหกิจ" คือ นักศึกษาจะได้รับโอกาสไปฝึกงานแบบนับหน่วยกิจที่สถานประกอบการ บางสถาบันการศึกษาละเลยกระบวนการนี้ บางสถานประกอบการ ละเลยที่จะให้ประสบการณ์ดีดีแก่นักศึกษา และกระบวนการสหกิจ ซึ่งแท้จริงแล้วเป็นฟันเฟืองแห่ง Entrepernuerial Experiential Learning ก็ได้ค่า ทั้งในส่วนนักศึกษาเองที่ไปแบบขอไปที โดยเลือกสถานประกอบการที่พ่อแม่ีเส้นสาย หรือมีความสัมพันธ์ มีบ้างที่ตั้งใจไปรับประสบการณ์ คณาจารย์ที่ไปนิเทศก์สหกิจ ก็น้ำท่วมปาก เพราะว่าเกรงใจ กลัวว่า หากตำหนิสถานประกอบการไป จะเป็นการตัดอกาสนักศึกษารุ่นต่อไป ทำให้กระบวนการนี Watse a Time ไม่ตรงไปตามหลักการประกอบการ ผู้เขียนเคยเสนอประเด็นเรื่อง สหกิจอาจารย์ ในการประชุม Round Table วงหนึง เพระาเห็นกว่า อาจารย์ส่วนมากในสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษานั่นแหละที่ขาดประสบการ์ทำงานในโลกจริง จึงไม่สามารถสร้าง Entreprenrial Faciliate Approaching ในชั้นเรียน
วิธีการวัดผลของนักศึกษา ใช้ระบบ One Fit All ซึ่งทำให้ต้องเกิดกระบวนการจำเพื่อสอบ ทั้งนี้ยังไม่รวมจำนวนนักศึกษาต่อ section ที่มีมากในบางสาขาวิชาในระดับวิชาเฉพาะที่ทำให้การตรวจข้อสอบ การแนะนำ จากอาจารย์สู่นักศึกษาทำไม่ได้ ยังไม่รวมกันวัดผลของคณาจารย์ ที่ไม่มีการวัดประสิทธิผลในการสอน มีการวัดผลจากงานวิจัยเป็นหลัก ซึ่งผู้เขียนไม่ทราบจริง ๆ ว่า การศึกษาในสถาบันการศึกษาเราเลิกพัฒนานักเรียนนักศึกษา และหันไปสนใจการพัฒนาครู่อาจารย์อย่างเดียวใน KPI ตั้งแต่เมื่อใด บางมหาวิทยาลัยตรวจประกันคุณภาพจากลายลักษร์อักษร บางมหาลัยใช้วิธีการพาผู้ทรงไปทานข้าว มอบของขวัญ เพื่อผ่านการประเมิน ท่านจะเห็นได้ว่ากระบวนการทั้งหมดของการศึกษาเองไม่มี Entreprenuership เลย และจะไปคาดหวังให้ Entreprenuership ไปเป็นทักษะพื้นฐานของนักเรยนนักศึกษาอย่างไร
ในทุกชั้นปี แทบจะทุกวิชา นักศึกษาไม่เคยมีประสบการณ์ได้ทำซ้ำ ไม่มีโอกาสไ้ดรับประสบการณ์ทำอีกครั้งให้ดีขึ้นหลังจากตนเองทราบข้อเสีย ซ้ำร้ายไปกว่านั้น การนำเสนอโครงงงานใด ๆ มักทำเอาคาบสุดท้ายของชั้นเรียนด้วย ท่านจะเป็นว่าประสบการณ์ใด ๆ ที่ในวิชาหลักจะสร้าง Entreprenuerial Mindset ยั้ยเป็นจิ๊กซอว์ไม่มีโอกาสต่อสำเร็จเลยในการศึกษา 4 ปี ในระดับปริญญาตรีของนักศึกษาส่วนมากในประเทศไทย
ทักษะทั่วไปของการประกอบการ หรือ Common Entreprenuerial Skills (โปรดดู EP2) ควรเป็นพื้นฐานของการศึกษาในทุกระดับ โดยแต่ละชั้นเรียนที่เพิ่มระดับสูงขึ้น ต้องเพิ่มทักษะ และความเชี่ยวชาญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งคือ ระดับปริญญาตรี ซึ่งเป็นค่านิยมของสังคมสมัยใหม่ และ เมื่อนักศึกษาเหล่านี้ออกไป นอกจตากความรู้จะกะพร่องกะแพร่งแล้วในสาขาวิชาหลักของตนเอง Related Common Hard Skills ก็ไม่มี และแทบจะไม่มีวิธีการ และค่านิยมในการศึกษาด้วยตนเองด้วยซ้ำไป และที่ร้ายไปกว่านั้น คือ การขาด Basic Soft Skills ของนักศึกษาไทย ที่มีความจำเป็นในฐานะนักประกอบการทั้งในรูปแบบของพนัดงานลูกจ้างขององค์กร และเจ้าของกิจการใหม่ หรือ การสานต่อธุรกิจเดิมของครอบครัว
ภาคอุดมศึกษาจะต้องสร้าง Enterpernuership จากการผสมผสานความรู้ และประสบการณ์เให้กับนักศึกษา ปริญญาตรี ไม่ได้ยืนบน Silo Based ที่นักศึกษาเชื่อมโยงไม่ได้ และขาดทักษะการเชื่อมโยง โลกในอนาคตของผู้เขียน คือ Wide Lenght and little depth คือ กว้าง ยาว และลึกพอสังเขป ส่วนในสาจา ปริญญาโท หรือสูงกว่า คือ สิ่งที่เราอัดกันใน ป.ตรี ที่ไม่เกิดประโยชน์ เพราะว่า นักศึกษาเรา "จำเพื่อสอบ" ไม่ใช่ "เรียนเพื่อใช่งานเป็น"
COMMON ENTREPRENUERIAL SKILLS เป็นพื้นฐานของทุกสาขาวิชา ไม่ใช่สาขาวิชาบริการธุรกิจ และการจัดการเท่านััน ทว่าน้ำหนักจะมากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับอุตสาหกรรมแบบเดิมที่ยังคงอยู่ได้ในยุค disruptive สถาบันการศึกษา และ Schools ต่าง ๆ ในสถาบัน จำเป็นจะต้องส่งเสริมให้มีพื้นฐานนี้ ก่อนที่นักศึกษาจะจบการศึกษา หากการเปลี่ยนแปลงหลักสูตรด้วยการตัดวิชาเกินออกไปนั้น ทำได้ยาก เพราะว่าผู้ทรงมาจากภาควิชาการ ย่อมอยากเห็นความแน่นหนาของจำนวนวิชา และไม่ได้มองว่า หลักสูตรไม่สอดคล้องกับเวลา และการอำนวยชั้นเรียนไม่สอดคล้องกับจำนวนเวลา และทรัพยากรอื่น ๆ ก๋อย่างน้อย ท่านคณาจารย์จะต้องตัดสินใจเพื่อสร้างพื้นฐานที่ดี ที่นักศึกษาเอาไปปรับใช้ได้ มีวิธีการ กระบวนการในการไปเรียนรู้ได้เองในอนาคต ในชั้นเรียนเพิ่มกระบวนการคิด, สร้างนักถาม, นักสิบค้น และนักต่าง ๆ เปิดโอกาสให้ได้เรียนจากประสบการณ์ เรียนบนความผิดพลาด, เปิดโอกาสให้มีการฝึก Soft Skills ที่จำเป็น เพราะว่า การเปลี่ยนหลักสูตรนะมันยาก เป็นกบฎในชั้นเรียนของท่านผู้สอนต่อหลักสูตรล้าสมัยจะดีกว่า เกิดประโยชน์มากกว่า ท่านให้พื้นฐาน Entreprenuership ท่าจะมั่นใจได้ว่า นักศึกษาเมื่อพ้นมือท่านไป เขาอยู่รอดในยุคของความเปลี่ยนแปลงแน่นอน
นัก(ผู้)การประกอบการ นั้น เป็นคุณสมบัติพื้นฐานของสมาชิกทุกคนในองค์กร เพื่อวัตถุประสงค์ขององค์กรต่าง ๆ ไม่จำเป็นต้องเป็นเจ้าของกิจการ หรือ บุคคลากรในสายงานด้านธุรกิจ ทว่าลูกจ้าง พนักงาน ข้าราชการ ในทุกองค์กรควรเป็นนักประกอยการ การแก้ปัญหาเพื่อบรรลุเป้าหมายในงานที่ทำ โดยใช้การประสานงานที่ดีภายใน และภายนอกองค์กร บนปัจจัยพื้นฐาน และข้อจำกัดทั้งภายนอกและภายใน ให้สอดคล้องกับทรัพยากรที่มีจำกัด ให้คุ้มค่า เกิดประโยชน์และความยั่งยืน ทั้งในระดับบุคคล และในระดับองค์กร
Related Topic to Educator
ต่อไปนี้เป็นความเห็นส่วนตัวของผู้เขียนจากการที่คลุกคลีกับภาคการศึกษาในระดับปริญญาตรีมากว่า 5 ปี พบเจอผู้เกี่ยวข้องในระบบการศึกษามาอย่างมากมาย และได้เห็นความแตกต่างและความเหมือน ในกระบวนการทางการศึกษาของไทยมากว่า 26 มหาวิทยาลัย 50 กว่าสาขาวิชา ถ้าผู้อ่านเปิดใจไม่ได้ ขอแนะนำให้ข้ามวรรคนี้ไปครับ
ผู้เขียนขอพุ่งเป้าไปที่การศึกษาระดับ Higher Education ระดับ ปริญญาตรี เป็นหลักในประเด็นนี้ (แต่ไม่ได้หมายความว่า การศึกษาที่เป็น Fundamental ไม่ควรส่งเสริมให้เกิด Entreprenuership นะครับ) เป็นความพิสดารที่บรรดาคณบดี อธิการบดี ประธานหลักสูตรต่าง ๆ ก่อนการบูมของยุค Start up แบบการแข่งขันเพื่อชื่อเสียงของสถาบันการศึกษาจะเกิดขึ้น (ในราวปี 2558 -2561 จากนโยบายของภาครัฐ) แทบไม่เคยเห็นว่า Entreprenuership เป็นเรืองสำคัญ และในทุกวันนี้บาง School ในมหาวิทยาลัย ยังคงไม่เห็นความสำคัญด้วยซ้ำไป
เราจะพบเห็นโลกทัศน์ ความรู้ ทักษะ ที่แยกกันโดยสิ้นเชิงในแต่ละสาขาวิชา ที่ยังวางอยู่บนชุดความรู้ในศตวรรษที่ 19 หรือราว 200 ปีก่อน เป็นสำคัญ ที่เพิ่มเติมมา คือ ความซับซ้อน (ความเยอะ ความรุ่มร่าม ความเว่อร์วังอลังการ แบบ "มันต้องมี") เพื่อ propaganda หลักสูตรและชื่อเสียงของสถาบันการศึกษา ซึ่งพบว่าในรอบหลายสิบปีที่ผ่านมา ในนามของวิทยาลัยและสถาบัน ได้รับการรับรองคุณภาพจาก งานวิจัยของบุคลากร ซึ่งไม่ได้สอดคล้องกับคุณภาพของนักศึกษาเลย
เราจะพบว่า ในชั้นปีที่ 1 ในรั้้วมหาวิทยาลัยส่วนมาก จะเป็นวิชาพื้นฐาน ซึ่งบางวิชาพื้นฐานเหล่านั้น แบ่งเป็น วิชาพื้นฐานที่ไม่แน่ใจว่ามีความสำคัญไหม ที่แน่ ๆ คือ เป็นวิชานับหน่วยกิจพื้นฐานเพื่อให้ครบหลักสูตร แบบมั่วไปที่กำหนดกโดยหน่วยงานไร้วิสัยทัศน์ทางการศึกษาชุดหนึ่ง ประกอบกับจำนวนนักศึกษาต่อ Section ในวิชาที่เป็นวิชาพื้นฐานนี้ มีมากเสียจน เป้าประสงค์ที่เขียนไว้อย่างสวยหรูใน มคอ. หมายเลขต่าง ๆ นั้น เป็นเพียงข้อความในเอกสารที่ทำไม่ได้ วิชา Entreprenuership มีบ้างในบางมหาวิทยาลัย แต่ด้วยจำนวนนักศึกษา นั้น มันคือ การท่องจำเพื่อสอบให้ผ่าน มากกว่า จะสามารถนำไปใช้ปฏิบัติจริงได้ และหากไม่ใช่สายคณะด้านบริหารจัดการ จะแทบไม่พบวิชาเหล่านีอีกเลยในหลักสูตรเฉพาะทาง
ในปี 2-4 ผู้เขียนขอให้ข้อมูลว่า ในรอบ 7-10 ปีที่ผ่านมา มีการปรับหลักสูตร ลดจำนวนหน่วยกิจลง จากระบบเหมาจ่ายของสถาบันการศึกษา ผลกระทบที่เกิดขึ้น คือ การเรียนในวิชาโท ได้หายไปจากหลักสูตรส่วนใหญ่ในการศึกษาปริญญาตรี เปลี่ยนเป็นการศึกษาในวิชาเฉพาะ ซึ่งทำลายโอกาสในการศึกษาวิชาอืน ๆ ซึ่งเป็นพื้นฐานของ Entreprenusrship ทำลายความหลากหลายทางมุมมองในการวิเคราะห์ปัญหา, ทำลายวิธีการสร้างสังคมที่มีความแตกต่างกันในกระบวนความคิด เป็นตั้งกำแพงให้นักศึกษาที่ถูกสอนให้คิดแบบเดียวกันมาอยู่ด้วยทกัน ทักษะที่เป็น People Skills ก็หายไป และยิ่งพัฒนาสู่ความเป็น Silo Based Studey to Exam
ในปี 3-4 มีสิ่งที่เรียกว่า "วิชาสหกิจ" คือ นักศึกษาจะได้รับโอกาสไปฝึกงานแบบนับหน่วยกิจที่สถานประกอบการ บางสถาบันการศึกษาละเลยกระบวนการนี้ บางสถานประกอบการ ละเลยที่จะให้ประสบการณ์ดีดีแก่นักศึกษา และกระบวนการสหกิจ ซึ่งแท้จริงแล้วเป็นฟันเฟืองแห่ง Entrepernuerial Experiential Learning ก็ได้ค่า ทั้งในส่วนนักศึกษาเองที่ไปแบบขอไปที โดยเลือกสถานประกอบการที่พ่อแม่ีเส้นสาย หรือมีความสัมพันธ์ มีบ้างที่ตั้งใจไปรับประสบการณ์ คณาจารย์ที่ไปนิเทศก์สหกิจ ก็น้ำท่วมปาก เพราะว่าเกรงใจ กลัวว่า หากตำหนิสถานประกอบการไป จะเป็นการตัดอกาสนักศึกษารุ่นต่อไป ทำให้กระบวนการนี Watse a Time ไม่ตรงไปตามหลักการประกอบการ ผู้เขียนเคยเสนอประเด็นเรื่อง สหกิจอาจารย์ ในการประชุม Round Table วงหนึง เพระาเห็นกว่า อาจารย์ส่วนมากในสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษานั่นแหละที่ขาดประสบการ์ทำงานในโลกจริง จึงไม่สามารถสร้าง Entreprenrial Faciliate Approaching ในชั้นเรียน
วิธีการวัดผลของนักศึกษา ใช้ระบบ One Fit All ซึ่งทำให้ต้องเกิดกระบวนการจำเพื่อสอบ ทั้งนี้ยังไม่รวมจำนวนนักศึกษาต่อ section ที่มีมากในบางสาขาวิชาในระดับวิชาเฉพาะที่ทำให้การตรวจข้อสอบ การแนะนำ จากอาจารย์สู่นักศึกษาทำไม่ได้ ยังไม่รวมกันวัดผลของคณาจารย์ ที่ไม่มีการวัดประสิทธิผลในการสอน มีการวัดผลจากงานวิจัยเป็นหลัก ซึ่งผู้เขียนไม่ทราบจริง ๆ ว่า การศึกษาในสถาบันการศึกษาเราเลิกพัฒนานักเรียนนักศึกษา และหันไปสนใจการพัฒนาครู่อาจารย์อย่างเดียวใน KPI ตั้งแต่เมื่อใด บางมหาวิทยาลัยตรวจประกันคุณภาพจากลายลักษร์อักษร บางมหาลัยใช้วิธีการพาผู้ทรงไปทานข้าว มอบของขวัญ เพื่อผ่านการประเมิน ท่านจะเห็นได้ว่ากระบวนการทั้งหมดของการศึกษาเองไม่มี Entreprenuership เลย และจะไปคาดหวังให้ Entreprenuership ไปเป็นทักษะพื้นฐานของนักเรยนนักศึกษาอย่างไร
ในทุกชั้นปี แทบจะทุกวิชา นักศึกษาไม่เคยมีประสบการณ์ได้ทำซ้ำ ไม่มีโอกาสไ้ดรับประสบการณ์ทำอีกครั้งให้ดีขึ้นหลังจากตนเองทราบข้อเสีย ซ้ำร้ายไปกว่านั้น การนำเสนอโครงงงานใด ๆ มักทำเอาคาบสุดท้ายของชั้นเรียนด้วย ท่านจะเป็นว่าประสบการณ์ใด ๆ ที่ในวิชาหลักจะสร้าง Entreprenuerial Mindset ยั้ยเป็นจิ๊กซอว์ไม่มีโอกาสต่อสำเร็จเลยในการศึกษา 4 ปี ในระดับปริญญาตรีของนักศึกษาส่วนมากในประเทศไทย
ทักษะทั่วไปของการประกอบการ หรือ Common Entreprenuerial Skills (โปรดดู EP2) ควรเป็นพื้นฐานของการศึกษาในทุกระดับ โดยแต่ละชั้นเรียนที่เพิ่มระดับสูงขึ้น ต้องเพิ่มทักษะ และความเชี่ยวชาญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งคือ ระดับปริญญาตรี ซึ่งเป็นค่านิยมของสังคมสมัยใหม่ และ เมื่อนักศึกษาเหล่านี้ออกไป นอกจตากความรู้จะกะพร่องกะแพร่งแล้วในสาขาวิชาหลักของตนเอง Related Common Hard Skills ก็ไม่มี และแทบจะไม่มีวิธีการ และค่านิยมในการศึกษาด้วยตนเองด้วยซ้ำไป และที่ร้ายไปกว่านั้น คือ การขาด Basic Soft Skills ของนักศึกษาไทย ที่มีความจำเป็นในฐานะนักประกอบการทั้งในรูปแบบของพนัดงานลูกจ้างขององค์กร และเจ้าของกิจการใหม่ หรือ การสานต่อธุรกิจเดิมของครอบครัว
ภาคอุดมศึกษาจะต้องสร้าง Enterpernuership จากการผสมผสานความรู้ และประสบการณ์เให้กับนักศึกษา ปริญญาตรี ไม่ได้ยืนบน Silo Based ที่นักศึกษาเชื่อมโยงไม่ได้ และขาดทักษะการเชื่อมโยง โลกในอนาคตของผู้เขียน คือ Wide Lenght and little depth คือ กว้าง ยาว และลึกพอสังเขป ส่วนในสาจา ปริญญาโท หรือสูงกว่า คือ สิ่งที่เราอัดกันใน ป.ตรี ที่ไม่เกิดประโยชน์ เพราะว่า นักศึกษาเรา "จำเพื่อสอบ" ไม่ใช่ "เรียนเพื่อใช่งานเป็น"
- สาขาบริการด้านการสาธารณสุข หากเติมความเข้าใจเรื่อง จิตใจมนุษย์ ลงไป การบริการสาธารณสุขจะ Freindly มากขึ้น
- สาขาเกษตรศาสตร์ หากเติมความเข้าใจเรื่องเศรษฐศาสตร์เข้าไป ใส่ความเข้าใจเรื่องเทคโนโลยี การตลาด และการแปรรูป เราจะได้เกษตรกรรุ่นใหม่
- สายบัญชี ผสมผสานกับสาย Data Science เราจะได้ Real Managerial Accoutance ซึ่งเป็นทักษะที่ต้องการมากในสังคมยุคต่อไป
- สาย IT, Programing ที่เข้าใจโลกของธุรกิจ และพูดจาสื่อสารกับมนุษย์ได้อย่างเข้าใจ เพื่อเป็นกำลังสำคัญในการขับเคลื่อนประเทศไทย
- ฯลฯ (ไปผสมสานกันต่อไปนะครับ)
COMMON ENTREPRENUERIAL SKILLS เป็นพื้นฐานของทุกสาขาวิชา ไม่ใช่สาขาวิชาบริการธุรกิจ และการจัดการเท่านััน ทว่าน้ำหนักจะมากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับอุตสาหกรรมแบบเดิมที่ยังคงอยู่ได้ในยุค disruptive สถาบันการศึกษา และ Schools ต่าง ๆ ในสถาบัน จำเป็นจะต้องส่งเสริมให้มีพื้นฐานนี้ ก่อนที่นักศึกษาจะจบการศึกษา หากการเปลี่ยนแปลงหลักสูตรด้วยการตัดวิชาเกินออกไปนั้น ทำได้ยาก เพราะว่าผู้ทรงมาจากภาควิชาการ ย่อมอยากเห็นความแน่นหนาของจำนวนวิชา และไม่ได้มองว่า หลักสูตรไม่สอดคล้องกับเวลา และการอำนวยชั้นเรียนไม่สอดคล้องกับจำนวนเวลา และทรัพยากรอื่น ๆ ก๋อย่างน้อย ท่านคณาจารย์จะต้องตัดสินใจเพื่อสร้างพื้นฐานที่ดี ที่นักศึกษาเอาไปปรับใช้ได้ มีวิธีการ กระบวนการในการไปเรียนรู้ได้เองในอนาคต ในชั้นเรียนเพิ่มกระบวนการคิด, สร้างนักถาม, นักสิบค้น และนักต่าง ๆ เปิดโอกาสให้ได้เรียนจากประสบการณ์ เรียนบนความผิดพลาด, เปิดโอกาสให้มีการฝึก Soft Skills ที่จำเป็น เพราะว่า การเปลี่ยนหลักสูตรนะมันยาก เป็นกบฎในชั้นเรียนของท่านผู้สอนต่อหลักสูตรล้าสมัยจะดีกว่า เกิดประโยชน์มากกว่า ท่านให้พื้นฐาน Entreprenuership ท่าจะมั่นใจได้ว่า นักศึกษาเมื่อพ้นมือท่านไป เขาอยู่รอดในยุคของความเปลี่ยนแปลงแน่นอน
นัก(ผู้)การประกอบการ นั้น เป็นคุณสมบัติพื้นฐานของสมาชิกทุกคนในองค์กร เพื่อวัตถุประสงค์ขององค์กรต่าง ๆ ไม่จำเป็นต้องเป็นเจ้าของกิจการ หรือ บุคคลากรในสายงานด้านธุรกิจ ทว่าลูกจ้าง พนักงาน ข้าราชการ ในทุกองค์กรควรเป็นนักประกอยการ การแก้ปัญหาเพื่อบรรลุเป้าหมายในงานที่ทำ โดยใช้การประสานงานที่ดีภายใน และภายนอกองค์กร บนปัจจัยพื้นฐาน และข้อจำกัดทั้งภายนอกและภายใน ให้สอดคล้องกับทรัพยากรที่มีจำกัด ให้คุ้มค่า เกิดประโยชน์และความยั่งยืน ทั้งในระดับบุคคล และในระดับองค์กร
Related Topic to Educator
เขามี เรามี เขาใช้ Toolset อะไร เราใช้ Toolset ตามเขา เราจะได้ผลลัพท์เหมือนเขา (เหรอ)
ทั้งในภาคการศึกษา และภาคธุรกิจ ต่างเห็นว่า "เหวลึก" ที่กำลังเดินไป ถ้าไม่เปลี่ยนเส้นทาง หรือชะลอสายธารของสายน้ำที่จะพาลงเหวเบื้องล่าง จึงกระโดดใส่กระแสของการเปลี่ยนแปลง โดยมักใช้ TOOLSET นำทางเสมอ เป็นธรรมดาของการเปลี่ยนแปลงในประเทศไทย ที่มักจะเลือก Toolset ก่อนการเปลี่ยนแปลง Mindset และหวังว่า Toolset จะสร้าง Skillset ให้เกิดขึ้น ผู้เขียนเชื่อว่า จะเพิ่มด้วย Toolset ได้ ไม่มีความผิด ทว่า Toolset จะต้อง Lead ไปสู่ Mindset และ Skillset ด้วยกระบวนการ Mentoring และ Incubating บท EcoSystem ขององค์กร เพื่อนำไปสู่ Vision ที่วางไว้
ทักษะ (Skillset) และ จิตตะ (Mindset) แห่งการประกอบการสร้างได้ด้วยการอบรม และยัดเยียด (Toolset) การเขียน BMC และ Canvas ต่าง ๆ, การเขียน Business หรือ Marketing Plan ลัทธิแห่ง Design Thinking คือการสร้าง Entreprenuership
ก่อนจะเข้าประเด็กตามหัวข้อเรื่อง ผู้เชียนขอแสดงทรรศนะเกี่ยวกับการอบรมในลักษณะไทย ๆ ซึ่งเป็นจุดผิดพลาดของการบวนการพัฒนาทุนมนุษย์ในประเทศไทย ก่อนที่ขะเข้าไปสู่การอบรมบนความพยายามสร้างนักประกอบการ การอบรมในประเทศไทย มีขึ้นเพื่อให้บรรลุ KPI ของฝ่ายที่เกี่ยวข้อง, เป็นหน้าเป็นตาในการประชาสัมพันธ์องค์ร, เป็นความอุ่นใจของผู้บริหาร และเหตุผลอื่น ๆ ที่แวดล้อม และอาจมีน้ำหนักมากกว่า การพัฒนาศักยภาพของบัคลากร ภายใต้ความเชื่อว่าการอบรมเป็นครั้ง ๆ จะสร้างเสริมศักยภาพของบุคลากร, การอบรมจะเปลี่ยนวิธีการคิด และการทำงาน ตามแต่กจุดประสงค์ที่เขียนไว้อย่างสวยหรูซึ่งควรเป็นเจตจำนงค์หลัก
วิธีการอบรม เป็นหนึ่งในวิธีการสร้างและพัฒนา Competency (Completion on Trendency and Ablility; โดยผู้เขียน) เป็นวิธีที่ถูกต้อง สังเหกตุจากการอบรมในลักษณะต่าง ๆ เป็นวิธีที่ทั่วโลกใช้ และส่วนมากได้ผล ยกเว้นเสียแต่ในประเทศไทย ซึ่งมีสัดส่วนของความสำเร็จในการอบรมภาคเอกชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเอกชนที่เป็นบริษัทข้ามชาติ มากกว่าเอกชนสัญชาติไทย และ มีค่าความสำเร็จน้อยมากในภาครัฐ
การอบรมเชิงธุรกิจ, การอบรมที่มาจากความต้องการในการทำ Transformation หรือ การอบรมที่อนุมานว่าเป็นการสร้างนักประกอบการ ได้รับอานิสงค์จาก "วิถีไทย" เช่นกัน
ในภาคการศึกษา ตั้งแต่มห่าวิทยาลัยตื่นตัวเรื่อง Start Up (และในปัจจุบันลงไปยังโรงเรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย) หลายสถาบันการศึกษาหลังจากได้ส่งบุคคลากรเพื่อไปเข่าร่วมการอบรม หรือไปสังเกตการณ์การจัดการแข่งขัน และกิจกรรมต่าง ๆ ก็ได้นำเอาวิธีการ แลรูปแบบต่าง ๆ กลับมา โดยเริ่มต้นความประสงค์ในการแข่งขัน บางสถาบันเข้าใจหลักการในการเสริมสร้างประสบการณ์ให้กับนักศึกษา โดยที่ไม่ได้กระทบหรือเปลี่ยนแปลงหลักสูตร และวิธีการเรียนการสอนเชิง Entreprenuerial Based Curriculum ส่วนใหญ่ของมหาวิทยาลัยไปตามกระแสของการแข่งขัน และงบประมาณภาครัฐที่อัดฉีดลงมา และหยุดที่การแข่งขันเพื่อสร้างชื่อเสียง มีทั้งนักศึกษาเป็น Norminee ของอาจารย์ ไม่ได้คิดที่จะพัฒนากระบวนการเพื่อการเรียนรู้ ก็มีมาก และหยุดลงเมื่อรัฐบาลไ่ปอัดฉีดเงินลงไป (นี่แหละครับโศกนาฎกรรมในการศึกษาอุดมศึกษาของไทย ทั้งนี้ยังไม่รวมโครงการการอบรมแบบร่วมกันแหกตา ของบางกลุ่มสถาบันการศึกษา ในโครงการ Startup ที่เวียนเอาชื่อของนักศึกษาในสถาบัน มาแปลงร่างเป็นผู้ประกอบท้องถิ่นอีกด้วย)
ในภาคธุรกิจ ก็มีกระแสการตื่นตัว จากองค์กรใหญ่ ๆ ที่ผู้บริหารถูกกดดันจากการแนวโน้ทการเปลี่ยนแปลงของโลก และก็สร้าง Internal Event ขึ้นภายใต้หน้ากากของการ Transformation ให้กับพนักงานในองค์กร เกิดเป็นการอบรมใหม่ เพื่อหวังจะสร้าง นักประกอบการในองค์กร ที่ไม่เปลี่ยนแปลง หรือ มีการเปลี่ยนแปลงกฎกติการองรับการเกิดขึ้น (เรียกว่าลักลั่น กูพอได้) เช่น อบรมแนวคิดใหม่ วิธีการใหม่ ทว่า ไม่มี Authorize หรือ เวทีให้ดำเนินการ และจะอบรมเพือให้บรรลุวัตถุประสงค์ใด
(ในภาครัฐ ให้ละไว้ที่ การจัดการอบรม คือ การไปเที่ยว ดูงานและไม่ทำ เพื่อใช้งบประมาณ) ข้อความในเล็บเป็นขอความล่องหน ไม่สามารถอ่านได้
ทั้งในภาคการศึกษา และภาคธุรกิจ ต่างเห็นว่า "เหวลึก" ที่กำลังเดินไป ถ้าไม่เปลี่ยนเส้นทาง หรือชะลอสายธารของสายน้ำที่จะพาลงเหวเบื้องล่าง จึงกระโดดใส่กระแสของการเปลี่ยนแปลง โดยมักใช้ TOOLSET นำทางเสมอ เป็นธรรมดาของการเปลี่ยนแปลงในประเทศไทย ที่มักจะเลือก Toolset ก่อนการเปลี่ยนแปลง Mindset และหวังว่า Toolset จะสร้าง Skillset ให้เกิดขึ้น ผู้เขียนเชื่อว่า จะเพิ่มด้วย Toolset ได้ ไม่มีความผิด ทว่า Toolset จะต้อง Lead ไปสู่ Mindset และ Skillset ด้วยกระบวนการ Mentoring และ Incubating บท EcoSystem ขององค์กร เพื่อนำไปสู่ Vision ที่วางไว้
ทักษะ (Skillset) และ จิตตะ (Mindset) แห่งการประกอบการสร้างได้ด้วยการอบรม และยัดเยียด (Toolset) การเขียน BMC และ Canvas ต่าง ๆ, การเขียน Business หรือ Marketing Plan ลัทธิแห่ง Design Thinking คือการสร้าง Entreprenuership
ก่อนจะเข้าประเด็กตามหัวข้อเรื่อง ผู้เชียนขอแสดงทรรศนะเกี่ยวกับการอบรมในลักษณะไทย ๆ ซึ่งเป็นจุดผิดพลาดของการบวนการพัฒนาทุนมนุษย์ในประเทศไทย ก่อนที่ขะเข้าไปสู่การอบรมบนความพยายามสร้างนักประกอบการ การอบรมในประเทศไทย มีขึ้นเพื่อให้บรรลุ KPI ของฝ่ายที่เกี่ยวข้อง, เป็นหน้าเป็นตาในการประชาสัมพันธ์องค์ร, เป็นความอุ่นใจของผู้บริหาร และเหตุผลอื่น ๆ ที่แวดล้อม และอาจมีน้ำหนักมากกว่า การพัฒนาศักยภาพของบัคลากร ภายใต้ความเชื่อว่าการอบรมเป็นครั้ง ๆ จะสร้างเสริมศักยภาพของบุคลากร, การอบรมจะเปลี่ยนวิธีการคิด และการทำงาน ตามแต่กจุดประสงค์ที่เขียนไว้อย่างสวยหรูซึ่งควรเป็นเจตจำนงค์หลัก
วิธีการอบรม เป็นหนึ่งในวิธีการสร้างและพัฒนา Competency (Completion on Trendency and Ablility; โดยผู้เขียน) เป็นวิธีที่ถูกต้อง สังเหกตุจากการอบรมในลักษณะต่าง ๆ เป็นวิธีที่ทั่วโลกใช้ และส่วนมากได้ผล ยกเว้นเสียแต่ในประเทศไทย ซึ่งมีสัดส่วนของความสำเร็จในการอบรมภาคเอกชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเอกชนที่เป็นบริษัทข้ามชาติ มากกว่าเอกชนสัญชาติไทย และ มีค่าความสำเร็จน้อยมากในภาครัฐ
- การอบรมของประเทศไทยเป็นการจัดในลักษณะสร้าง EVENT (จริงๆ แล้วในทรรศนะของผู้เขียน พบว่าแทบจะทุกเรื่องของประเทศไทยทำเป็นลักษณะ Event เพื่อถ่ายรูป ถือเป็นจบกัน) ไม่ใช่ Norm หมายถึง ไม่ได้ถูกทำให้เป็นวิถีแห่งการพัฒนาคน เนื่องจากว่าเราไม่มีกระบวนการรองรับหลังจาก Event สิ้นสุดลง
- รูปแบบการอบรมในประเทศไทย เป็นไปในลักษณะ FYI หรือ For Your Information (เพื่อเป็นข้อมูล) มากกว่า FYA หรือ For Your Action (เพื่อนำไปลงมือกระทำ)
- การอบรมของคนไทยจบลงที่บุคคล เมื่อสิ้นสุด Event ยังดีที่ในภายหลังมีธรรมเนียมใหม่ ในการจะต้องนำเนื้อหา, ข้อสรุป กลับไปนำเสนอในองค์กร ซึ่งจะทำแบบขอไปทีให้ได้ตาม KPI และเกณฎ์ที่วางไว้ พบวิธีการที่ดี แต่นำมาปฏิบัติแบบไทย ๆ ได้มากใน องค์กรขนาดกลาง, ภาคการศึกษา และหน่วยงานราชการในประเทศไทย
- ในขณะที่หน่วยภาคเอกชนขนาดใหญ่ และบริษัทข้ามชาติ ถือเป็นธรรมเนียมปฏิบัติ ซึ่งผู้รับการอบรมจะต้องนำกลับมาแบ่งปัน เพื่อนสร้าง Learning ในองค์กร ความแตกต่างของการอบรมจึงแตกต่างกัน ด้วยวิธีการ และ NORM ขององค์กร
- การกลับมาเพื่อแย่งปันในองค์กร ไม่มีการวัดผลอีกเช่นเคย สมาชิกขององค์กรที่ควรได้รับการแบ่งปัน ก็ไม่ได้เห็นความจำเป็น และความสำคัญในกระบวนการนี้ ซึ่งทำให้ผิดวัตถุประสงค์ไป หนำซ้ำในบางทีถือเป็น การจัด event เพื่อเลี้ยงอาหารวา่ง ทานเสร็จลงขื่อเสร็จก็หายไป
- เราไม่มีตัวชี้วัดผลลัพท์ที่เกิดขึ้นจากการอบรมชัดเจน มากไปกว่า การวัดผลที่ไม่ได้เกิดประโยชน์ เช่น คุณภาพของวิทยากร, การจัดการ event เช่น ขั้นตอนการลงทะเบียน การได้รับข้อมูล และที่ร้ายไปกว่านั้น คือ คุณภาพอาหาร และที่พัก หรือที่จัดสัมมนาเป็นต้น
- ในบริษัทข้ามชาติ และองค์กรใหญ่ ๆ ของไทย จะมีแผนและตัวชี้วัดเมื่อการอบรมสิ้นสุดลง เนื่องจาก การอบรมเป็นการลงทุนทั้งเงิน และเวลาของบุคลากร เช่น มีการทดสอบวัดความสามารถ เช่น การสอบ Certification หลังจากการอบรม หรือการลงมือทำในระหว่างการอบรมในลักษณะ Workshop, มีตัวชี้วัด เช่น ยอดขายที่เพิ่มขึ้นหลังจากการอบรมประเภท Product หรือ Service ใหม่, ต้องมีตลาดใหม่เกิดขึ้น สร้าง Lead ที่ Convert เป็นยอดขายได้เท่าไหร่, หรือ เกิดประสิทธิภาพในงานที่เกี่ยวข้องอย่างไร เป็นต้น
- ค่านิยมของผู้เข้ารับการอบรม ซึ่งเป็นผลมาจากการที่องค์กรไม่มีตัวชี้วัดชัดเจน และรวมไปถึงสันดานประจำชาติไทย อาทิ
- การไมรักษาเวลา
- การมาลงชื่อ เพื่อให้มีหลักฐานในการอบรม และออกไปใช้เวลาทำเรื่องอื่น ๆ
- การหลีกเลี่ยงการถาม และการแสดงความคิดเห็นในการอบรม
- ในกรณีที่มีกิจกรรมกลุ่ม ส่วนมาก จะเป็นผู้นั่งทำงาน "ด้วยกัน" ที่ดี มากกว่า ทำงาน "ร่วมกัน"
การอบรมเชิงธุรกิจ, การอบรมที่มาจากความต้องการในการทำ Transformation หรือ การอบรมที่อนุมานว่าเป็นการสร้างนักประกอบการ ได้รับอานิสงค์จาก "วิถีไทย" เช่นกัน
ในภาคการศึกษา ตั้งแต่มห่าวิทยาลัยตื่นตัวเรื่อง Start Up (และในปัจจุบันลงไปยังโรงเรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย) หลายสถาบันการศึกษาหลังจากได้ส่งบุคคลากรเพื่อไปเข่าร่วมการอบรม หรือไปสังเกตการณ์การจัดการแข่งขัน และกิจกรรมต่าง ๆ ก็ได้นำเอาวิธีการ แลรูปแบบต่าง ๆ กลับมา โดยเริ่มต้นความประสงค์ในการแข่งขัน บางสถาบันเข้าใจหลักการในการเสริมสร้างประสบการณ์ให้กับนักศึกษา โดยที่ไม่ได้กระทบหรือเปลี่ยนแปลงหลักสูตร และวิธีการเรียนการสอนเชิง Entreprenuerial Based Curriculum ส่วนใหญ่ของมหาวิทยาลัยไปตามกระแสของการแข่งขัน และงบประมาณภาครัฐที่อัดฉีดลงมา และหยุดที่การแข่งขันเพื่อสร้างชื่อเสียง มีทั้งนักศึกษาเป็น Norminee ของอาจารย์ ไม่ได้คิดที่จะพัฒนากระบวนการเพื่อการเรียนรู้ ก็มีมาก และหยุดลงเมื่อรัฐบาลไ่ปอัดฉีดเงินลงไป (นี่แหละครับโศกนาฎกรรมในการศึกษาอุดมศึกษาของไทย ทั้งนี้ยังไม่รวมโครงการการอบรมแบบร่วมกันแหกตา ของบางกลุ่มสถาบันการศึกษา ในโครงการ Startup ที่เวียนเอาชื่อของนักศึกษาในสถาบัน มาแปลงร่างเป็นผู้ประกอบท้องถิ่นอีกด้วย)
ในภาคธุรกิจ ก็มีกระแสการตื่นตัว จากองค์กรใหญ่ ๆ ที่ผู้บริหารถูกกดดันจากการแนวโน้ทการเปลี่ยนแปลงของโลก และก็สร้าง Internal Event ขึ้นภายใต้หน้ากากของการ Transformation ให้กับพนักงานในองค์กร เกิดเป็นการอบรมใหม่ เพื่อหวังจะสร้าง นักประกอบการในองค์กร ที่ไม่เปลี่ยนแปลง หรือ มีการเปลี่ยนแปลงกฎกติการองรับการเกิดขึ้น (เรียกว่าลักลั่น กูพอได้) เช่น อบรมแนวคิดใหม่ วิธีการใหม่ ทว่า ไม่มี Authorize หรือ เวทีให้ดำเนินการ และจะอบรมเพือให้บรรลุวัตถุประสงค์ใด
(ในภาครัฐ ให้ละไว้ที่ การจัดการอบรม คือ การไปเที่ยว ดูงานและไม่ทำ เพื่อใช้งบประมาณ) ข้อความในเล็บเป็นขอความล่องหน ไม่สามารถอ่านได้
ผู้เขียนเห็นปรากฎการณืหนึ่งในกระแสธารแห่งการพัฒนา Startup ซึ่งผู้เขียนบอกคนรอบข้างมาแต่แรกว่า มันควรจะใช้คำว่า Entreprenueship เสียมากกว่า เพราะว่า ประเทศเราจะเริ่มที่ Start และมัก Stop เปลี่ยนไปตาม Trend และ Fashion เช่น ในรอบ 3 ปี (2016-2018) เมื่อภาครัฐมีนโยบาย Startup และการสร้างจำนวน Startup เป็นนโยบาย ผู้เขียนเห็นสถาบันการศึกษากระโจนลงไปทันที แบบไม่ตั้งเป้าหมาย จึงไม่มีแนวทางเป็นของสถาบันตัวเอง (เชื่อหรือยังครับ เราเป้รนักทำ ทั้งๆ ที่ สถาบันการศึกษาแบบอุดมศึกษาเป็น Schorlar Society)
ในภาคเอกชน ก็ใช้หลักคิดเพื่อการอยู่รอดในยุค Disruptive ซึ่งกดดันให้องค์กรจะต้องแสดงความ "ใหม่" ออกมา ผ่านรุปแบบของการสร้าง New Business หรือ กลุ่มแนวคิดใหม่ภายในองค์กร ในภาคเอกชนผมไม่ค่อยห่วงการตั้งเป้าหมาย ผมห่วงวิธีการดำเนินการเสียมากกว่า เพราะว่าประเทศไทยเป็นช่วง Transform และเราเองก็ยังไม่มีประสบการณ์ในประเทศของเรามากพอ (ส่วนในภาครัฐนั้น สิ่งใดที่ไม่มีทางตายและเป็นอมตะ สิ่งนั้นไม่ปรับตัวครับ ให้ละไว้ในฐานที่เราเข้าใจกันเอง) ข้อตวามในวงเล็บเป็นข้อความล่องหนเช่นเคย
ผู้เขียนเห็นว่า "เรา" กระโดดลงไปที่การใช้ Toolset ที่เราไปนำมาจากสังคมเอเลี่ยน (ต่างถิ่น และยังไม่ได้ปรับให้เข้ากับสังคม วัฒนธรรม สภาพการณ์ ปัจจัยพื้นถิ่น) ซึ่งถ้าเราเป็นนักปรับใช้ และเป็น Power Users ผู้เขียนจะไม่ห่วงเลย ทว่า ในช่วง Transform ก่อนที่เราจะปรับให้เข้ากับเราได้ ผมเห็นทุกคนโดดลงหมู่เรือ ที่ไหลไปตามแม่น้ำ ที่ปลายทางคือ "เหวลึก" มีบ้างที่ใช้ Tools เป็น สามารถชะลอการตกลงไป บ้างเชื่อว่าตนเองพิเศษ จะสามารถโดยนเชือกไปรัดกิ่งไม้ก่อนจนไปราวกับภาพยนตร์อินเดีนน่าโจน บ้างเชื่อว่าตกไปทั้งเรือ และยังสามารถอยู่รอดได้เมื่อเรือกระทบแผ่นน้ำเบื้องล่าง แต่ผู้เขียนห่่วง คือ เราไมได้เชื่อม Toolset ให้เกิดเป็น SkillSet หรือ Mindset ได้ เราเป็นเพียง User ผู้ซื้อเทคโนโลยีมาใช้งาน เหมือนที่ประเทศของเราเป็น
หากผู้อ่านกลับไปอ่านบทความก่อนหน้านี้ ผู้เขียนได้บอกแล้วว่า จะเกิดจากสิ่งใดก่อนหลังนั้น ไม่ต้องสนใจ ให้สนใจว่า จะผสาน Sets ต่าง ๆ ให้น้พหนัก และหยิบใช้ให้ถูกสถานการณ์อย่่างไร บ่อยครั้งที่ผู้เขาเอาตัวเองไปอยูใน event ของ Startup และการแข่งขันแผนต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป้นแผนธุรกิจ แผนการตลาด และเห็นว่า "ันักศึกษาของเรา" ไม่สามารถเชื่อมโยงได้ กลุ่มที่เจข้าร่วมด้วยความปรารถนาส่วนตัว จะเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์ได้เอง กลุ่มที่ถูกบังคับเข้า หรือเป็น Norminee ของอาจารย์ที่มีความกระหายชื่อเสียง ก็มีความพยายาม และได้ทักษะเหล่านั้นไปบ้าง แต่ถูกครอบงำด้วยมายาตคิของ ชื่อเสียงและ KPI ของอาจารย์ "โดยอาชีพ" เหลา่นั้น ในภาคธุรกิจเอง ผู้เขียนเห็นปรากฎการณ์ใกล้เคียง ทว่า เห็นความเชื่อมโยงหลวม ๆ เพราะว่าในองค์กรนั้น บุคลากรมีประสบการณ์ทำงานจริง ทำให้ได้ข้อได้เปรียบมากกว่าสิ่งดียวกันที่เกิดในภาคการศึกษา
คำแนะนำจากผู้เขียน เกี่ยวกับ Toolset อันเป็นที่นิยมในช่วง Transform ของประเทศไทย ที่ Facilitator ควรแนะนำเหล่า Thai Entreprenuerial Avengers (ซึ่งโปรดฟังหูไว้หูและพิจารณาด้วยกาลามสูตร10)
เครื่องมือดีดี หากอยู่ใน Facilitator และ Power User เครื่องมือนั้นทรงพลัง จะสำแดงฤทธานุภาพ หากผู้ใช้มีพื้นฐานที่ดี จะเลือกใช้ Set ของเครื่องมืออย่างเหมาะสม เกิดเป็นผลลัพท์ที่ดี แต่ก่อนจะไปสู่ายละเอียด ผู้เขียนขอแนะนำให้รู้จัก Facilitator เสียก่อน (ไม่ควรแปลคำเหล่านี้; Teacher Student Facilitator และ Learner ให้ใช้ความหมายในภาษาอังกฤษ เพราะภาษาไทยมีความคลาดเคลื่อนจากความหมายสูง) ผู้เขียนเชื่อโดยส่วนตัวว่า ในการศึกษา Higher Edcuation ไม่ควรมี Teacher และ Teacher ควรกลายร่างเป็น Facilitator ที่จะต้องอำนวยให้ Learner เห็น "วิชา" "เครื่องมือ" "แนวคิด" "วิธีการ" ที่ หลากหลาย Facilitator จะไม่ทำ scope แบบ Teacher ที่สอนเฉพาะ สิ่งที่ตนเองคุ้นเคย เชื่อมั่น ยึดถือ เชียวชาญ เพราะว่าจะเป็นการจำกัดความสามารถและวิธีการ ทว่ามีความน่าเสียดายมากที่ ระบบการศึกษา ถึงแม้นว่าจะเป็นอุดมศึกษา ปริญญาตรี เรายังมี Teacher มากกว่า Facilitator ในสัดส่วนที่มากจนไม่อาจเกิดการเปลียนแปลง จนเกิดเป็นสังคมอุดม Entreprenuer ได้
ในภาคเอกชน ก็ใช้หลักคิดเพื่อการอยู่รอดในยุค Disruptive ซึ่งกดดันให้องค์กรจะต้องแสดงความ "ใหม่" ออกมา ผ่านรุปแบบของการสร้าง New Business หรือ กลุ่มแนวคิดใหม่ภายในองค์กร ในภาคเอกชนผมไม่ค่อยห่วงการตั้งเป้าหมาย ผมห่วงวิธีการดำเนินการเสียมากกว่า เพราะว่าประเทศไทยเป็นช่วง Transform และเราเองก็ยังไม่มีประสบการณ์ในประเทศของเรามากพอ (ส่วนในภาครัฐนั้น สิ่งใดที่ไม่มีทางตายและเป็นอมตะ สิ่งนั้นไม่ปรับตัวครับ ให้ละไว้ในฐานที่เราเข้าใจกันเอง) ข้อตวามในวงเล็บเป็นข้อความล่องหนเช่นเคย
ผู้เขียนเห็นว่า "เรา" กระโดดลงไปที่การใช้ Toolset ที่เราไปนำมาจากสังคมเอเลี่ยน (ต่างถิ่น และยังไม่ได้ปรับให้เข้ากับสังคม วัฒนธรรม สภาพการณ์ ปัจจัยพื้นถิ่น) ซึ่งถ้าเราเป็นนักปรับใช้ และเป็น Power Users ผู้เขียนจะไม่ห่วงเลย ทว่า ในช่วง Transform ก่อนที่เราจะปรับให้เข้ากับเราได้ ผมเห็นทุกคนโดดลงหมู่เรือ ที่ไหลไปตามแม่น้ำ ที่ปลายทางคือ "เหวลึก" มีบ้างที่ใช้ Tools เป็น สามารถชะลอการตกลงไป บ้างเชื่อว่าตนเองพิเศษ จะสามารถโดยนเชือกไปรัดกิ่งไม้ก่อนจนไปราวกับภาพยนตร์อินเดีนน่าโจน บ้างเชื่อว่าตกไปทั้งเรือ และยังสามารถอยู่รอดได้เมื่อเรือกระทบแผ่นน้ำเบื้องล่าง แต่ผู้เขียนห่่วง คือ เราไมได้เชื่อม Toolset ให้เกิดเป็น SkillSet หรือ Mindset ได้ เราเป็นเพียง User ผู้ซื้อเทคโนโลยีมาใช้งาน เหมือนที่ประเทศของเราเป็น
หากผู้อ่านกลับไปอ่านบทความก่อนหน้านี้ ผู้เขียนได้บอกแล้วว่า จะเกิดจากสิ่งใดก่อนหลังนั้น ไม่ต้องสนใจ ให้สนใจว่า จะผสาน Sets ต่าง ๆ ให้น้พหนัก และหยิบใช้ให้ถูกสถานการณ์อย่่างไร บ่อยครั้งที่ผู้เขาเอาตัวเองไปอยูใน event ของ Startup และการแข่งขันแผนต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป้นแผนธุรกิจ แผนการตลาด และเห็นว่า "ันักศึกษาของเรา" ไม่สามารถเชื่อมโยงได้ กลุ่มที่เจข้าร่วมด้วยความปรารถนาส่วนตัว จะเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์ได้เอง กลุ่มที่ถูกบังคับเข้า หรือเป็น Norminee ของอาจารย์ที่มีความกระหายชื่อเสียง ก็มีความพยายาม และได้ทักษะเหล่านั้นไปบ้าง แต่ถูกครอบงำด้วยมายาตคิของ ชื่อเสียงและ KPI ของอาจารย์ "โดยอาชีพ" เหลา่นั้น ในภาคธุรกิจเอง ผู้เขียนเห็นปรากฎการณ์ใกล้เคียง ทว่า เห็นความเชื่อมโยงหลวม ๆ เพราะว่าในองค์กรนั้น บุคลากรมีประสบการณ์ทำงานจริง ทำให้ได้ข้อได้เปรียบมากกว่าสิ่งดียวกันที่เกิดในภาคการศึกษา
คำแนะนำจากผู้เขียน เกี่ยวกับ Toolset อันเป็นที่นิยมในช่วง Transform ของประเทศไทย ที่ Facilitator ควรแนะนำเหล่า Thai Entreprenuerial Avengers (ซึ่งโปรดฟังหูไว้หูและพิจารณาด้วยกาลามสูตร10)
เครื่องมือดีดี หากอยู่ใน Facilitator และ Power User เครื่องมือนั้นทรงพลัง จะสำแดงฤทธานุภาพ หากผู้ใช้มีพื้นฐานที่ดี จะเลือกใช้ Set ของเครื่องมืออย่างเหมาะสม เกิดเป็นผลลัพท์ที่ดี แต่ก่อนจะไปสู่ายละเอียด ผู้เขียนขอแนะนำให้รู้จัก Facilitator เสียก่อน (ไม่ควรแปลคำเหล่านี้; Teacher Student Facilitator และ Learner ให้ใช้ความหมายในภาษาอังกฤษ เพราะภาษาไทยมีความคลาดเคลื่อนจากความหมายสูง) ผู้เขียนเชื่อโดยส่วนตัวว่า ในการศึกษา Higher Edcuation ไม่ควรมี Teacher และ Teacher ควรกลายร่างเป็น Facilitator ที่จะต้องอำนวยให้ Learner เห็น "วิชา" "เครื่องมือ" "แนวคิด" "วิธีการ" ที่ หลากหลาย Facilitator จะไม่ทำ scope แบบ Teacher ที่สอนเฉพาะ สิ่งที่ตนเองคุ้นเคย เชื่อมั่น ยึดถือ เชียวชาญ เพราะว่าจะเป็นการจำกัดความสามารถและวิธีการ ทว่ามีความน่าเสียดายมากที่ ระบบการศึกษา ถึงแม้นว่าจะเป็นอุดมศึกษา ปริญญาตรี เรายังมี Teacher มากกว่า Facilitator ในสัดส่วนที่มากจนไม่อาจเกิดการเปลียนแปลง จนเกิดเป็นสังคมอุดม Entreprenuer ได้
Classic Marketing Tools หรือ Classic Tools ที่ถูกมองข้าม หรือหยิบใช้อย่างเสียมิได้ โดยพิจารณาว่าล้าสมัย เครื่องมือสมัยใหม่อาจจะไม่ได้ใหม่จริง ๆ เครื่องมือ หรือวิธีการต่าง ๆ วิวัฒนาการมาจาก "ของเก่า" และถูกเปลี่ยนชื่อเพื่อให้เกิดอานุภาพทางการตลาด ท้ายที่สุดแล้ว หาก Facilitator สร้าง, อำนวยให้เกิดพื้นฐาน Fundamanrary Element ให้เกิดแล้วไซร้ ต่อให้ "ชื่อ" เหล่านี้จะเปลี่ยนแปลงไป ผู้ใช้จะยังทันสมัยอยู่เสมอ ผู้เขียนขอถอดประสบการณ์จากการเข้าร่วมในคอร์สพิเศษ, การแข่งขันทั้งในฐานผู้ฟัง ผู้เขช้าร่วมสังเกตุการณ์ และกรรมการ รวมไปถึงในงามสัมมนาต่าง ๆ ที่จัดขึ้นในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา ผู้เขียนพบว่า Tools ในสาย Classic ถูกจัดวางไว้ในรูปแบบของ "หัวข้อที่ต้องมี" ในการประกอบการอฺธิบาย ทว่า ไม่ได้สร้างให้ Tools เหล่านี้ถูกนำมาใช้อย่างทรงพลังเท่าที่จะทำได้ กลาเป็นส่วนประกอบที่ถูกลดบทบาท ทั้ง ๆ ที่ Classic Marketing และ Classic Tools เหล่านี้เป็นพื้นฐาน หลักคิด ในการพิจารณาปัญหา ก่อนที่ "สังคมเห่อ Innovation" จะโดดไปที่กระบวนการแก้ปัญหา และพบอุปสรรคในเรื่องพื้นฐาน เช่น เมื่อใช้ Toolset รุ่นใหม่ ที่เกิดจากการทำซ้ำ และไปทำซ้ำ ด้วยความกระท่อนกระแท่นในหลักการใช้ จะพบว่า ปัญหาพื้นฐานที่ไปพบในระหว่างการใช้เครื่องมือร่วมสมัย คือ ปัญหาพื้นฐาน ซึ่งเครื่องมือสายคลาสสิคช่วยได้เสมอ เครื่องมือพิจารณาสิ่งแวดล้อมในการประกอบการ เช่น Five Force, PESTLE เครื่องมือทั้ง 2 ตัวนี้เป็นที่นิยม ซึ่งผู้เขียนแนะนำว่า เป็น Classic Tools ที่ควรแนะนำเชิงการประกอบการ โดยเฉพาะในระยะการสร้างธุรกิจ/โครงการใหม่ ซึ่งบ่อยครั้งที่พบว่า นักศึกษา หรือผู้เข้าอบรมคิดถึงโซลูชั่นต่าง ๆ นาๆ บ้างเน้นไปในการพัฒนา Product หรือ Services และพบว่า Threat of Substitute ซึ่งอาจจะมี โซลูชั่นในการแก้ปัญหาเดียวกันอยู่แล้ว ซึ่งถูกกว่า เร็วกว่า ง่ายกว่า เป็นต้น หรือในกรณีที่โซลูขั่นที่คิดสร้างนั้น ไม่ได้อย่ในระดับ Flagship ไม่มี Strategy ก็จะพบว่ามี Threat of New Comer หรือ ในกรณีของ PESTLE ตัวอย่างเช่น มีความพยายามเสนอวิธ๊การขายบุหรี่จากโครงการ innovative service ของมหาวิทยาลัยหนึ่ง ซึ่งผ่านกระบวนการแนะนำมาแล้วจากทีมอาจารย์ของสถาบัน ซึ่งวิธีการนั้น กลับติดข้อปัญหาของ L-Legal ซึ่งกฎหมายไทยไม่อนุญาตวิธีการนำเสนอบุหรี่ทุกรูปแบบ เป็นต้น เครื่องมือประเมินปัจจัย เช่น SWOT Analysis, TOWS Analysis การใช้ SWOT และ TOWS Analysis เป็นเครื่องมือประเมินปัจจัยภายใน และปัจจัยภายนอก เพื่อพิจารณาในการพัฒนาแผนการดำเนินงาน ทว่าการใช้ SWOT Analysis บ่อยครับที่พบว่า ระดับนักศึกษา และบุคคลที่มีประสบการณ์ทำงานไม่นาน จะไม่สามารถเปลียนเครื่องทอพื้นฐานนี้ให้เกิดประโยขน์ได้ โดย ปัจจัยภายใน(SW) มักจะเป็นจุประเด็นที่ตีความผิด หรือไม่สามารถระบุข้อดีข้อด้อยได้ แต่ที่มีปัญหามากที่สุด คือ ส่วนของปัจจุัยภายนอก (OT) ที่พบว่่าความไม่มีประสบการณ์ หรือไม่เข้าใจธุรกิจ หรือสภาพตลาด หรือ สถานการณ์โดยรอบ ทำให้ไม่สามารถระบุได้ เมื่อระบุไม่ได้ หรือ ไม่สามารถทำให้ Powerful ได้ ก็จะมีปัญหาในกระบวนการถัดไป TOWS Analysis เป็นพี่ชายของ SWOT อีกที เมื่อ SWOT มีปัญหา อย่าเพิ่งไปเจอพี่ชาย แนวทางที่ดี คือ การใช้กระบวนการ Group Discussion แลกเปลี่ยนความคิดกันในห้องอบรม เปลี่ยนตัวอย่างปัญหา และ Facilitator ก็ทำหน้าที่ให้คำแนะนำ เครื่องมือในการตรวจสอบความเข้าใจด้วยกระบวนการ Questioning กระบวนการพื้นฐานในการเริ่มต้น การแก้ไขปัญหา ความเป็นสามัญที่สุด คือ "กระบวนการตั้งคำถาม" ในกรณีของเยาวชนจะพบว่า ไม่สามารถตั้งคำถามได้เป็นปัญหาหลักสุดที่พบ ปัญหารองลงมา คือ ไม่สามารถตั้งคำถามได้ตามความประสงค์ เลือกใช้ลักษณะคำถามผิดไปจากที่ต้องการ เมื่อจะต้องไปสัมภาษณ์ เมื่อได้รับฟังคำตอบ เทคนิคสำหรับการตั้งคำถามน้ั้น ที่ผู้เขียนใช้แล้วจะมีประสิทธิภาพจากประสบการ ผู้เขียนจะต้องสร้างบรรยากาศของการถามคำถามให้ "น่าถาม" ไม่ใช่ ให้เกิดความละอาย หรือกลัวที่จะตั้งคำถาม ผู้ถามมักเริ่มต้นที่ Who is stakeholders หรือใครเป็นผู้ทีส่วนได้ส่วนเสีย เพราะว่า คำถามอื่น ๆ นั้น จะเปลี่ยนบริบทไปตาม Who เพื่อเพิ่มเติมมุมมองให้กว้างขึ้นเสมอ และจะทำให้กระบวนการในการใช้เครื่องมืออื่น ๆ เกิดประสิทธิภาพสูงสุดด้วย เครื่องมือในการทำตลาด Marketing Mix การใช้ 4Ps หรือ 7Ps จะไม่มีประโยชน์ใด ๆ หาก ผู้ใช้งาน ไม่สามารถ เชื่อมเครื่องมือมากกวา 1-2 ตัว เข้าด้วยกันใหเเกิดเป็นกระบวนการคิดที่ต่อเนื่อง และสามารถอธิบายได้ว่า ในสถานการณ์เช่นใด จะใช้ Marketing Mix ตัวใดนำทาง ตัวใดสนับสนุน และเปลี่ยนสัดส่วนการใช้เมื่อใด เครื่องมือพื้นฐานเหล่านี้ สำหรับผู้เขียนนัั้นมีความเห็นว่า สำคัญ ทว่า ผู้ใช้เครื่องมือสมัยใหม่ ๆ ในปัจจุบัน มักไม่ให้ความสำคัญ เครื่องมือหลาตัวที่เป็นพท้นฐานถูกจัดลำดับความสำคัฯเพียง รู้ไว้เพราะว่าเป็นพื้นฐาน จำได้ว่าคืออไร แต่ใช้งานไม่เป็น |
เครืองมือที่เป็นที่นิยมในการบ่มเพาะแนวคิด Startup ในประเทศไทย ช่วง 2016-2019
ทั้งนี้ผู้เขียนขอรวมให้ Start Up เป็น Subset ของ Entreprenuership ซึ่งอีกไม่นาน ก็จะหันมาใช้คำนี้มากขึ้น
เครื่องมือตระกูลผืนผ้าใบ The Canvas Family
ผู้เขียนจะไม่ลงรายละเอียกของวิธีการใช้ Canvas ในแต่ละตัว เพราะว่าผู้ใช้สามารถศึกษาได้จาก website clip และสื่ออื่น ๆ ที่มีอยู่มากมาย เช่นเดียวกับที่ไม่ได้อธิบายวิธีการใช้เครื่องมืออื่น ๆ ด้านบน หรือ เครื่องมืออื่นๆ ที่จะเสนอต่อไป และไม่ได้แนะนำว่า จะต้องใช้ หรือ ไม่ใช้เครื่องทมือใด ๆ เป็นสำคัญ
ในบรรดาเครื่องมือบนผืนผ้าใบ และแผนภาพต่าง ๆ เป็นชุดเครืองมือที่มีชื่อเสียง และถูกนำมาใช้ในกระบวนอบรมเชิงปฏิบัติการ (Workshop) บ่อยครั้ง ผืนผ้าใบที่เป็นที่นิยม ได้แก่ BMC; Business Model Canvas พี่ใหญ่ ลูกพี่ลูกน้อง LEAN Canvas พี่รอง The Value Preposition Canvas และน้องเล็ก Emphathy Canvas ข้อสังเกตุที่ผู้เขียนขอเสนอไว้ ได้แก่
ทั้งนี้ผู้เขียนขอรวมให้ Start Up เป็น Subset ของ Entreprenuership ซึ่งอีกไม่นาน ก็จะหันมาใช้คำนี้มากขึ้น
เครื่องมือตระกูลผืนผ้าใบ The Canvas Family
ผู้เขียนจะไม่ลงรายละเอียกของวิธีการใช้ Canvas ในแต่ละตัว เพราะว่าผู้ใช้สามารถศึกษาได้จาก website clip และสื่ออื่น ๆ ที่มีอยู่มากมาย เช่นเดียวกับที่ไม่ได้อธิบายวิธีการใช้เครื่องมืออื่น ๆ ด้านบน หรือ เครื่องมืออื่นๆ ที่จะเสนอต่อไป และไม่ได้แนะนำว่า จะต้องใช้ หรือ ไม่ใช้เครื่องทมือใด ๆ เป็นสำคัญ
ในบรรดาเครื่องมือบนผืนผ้าใบ และแผนภาพต่าง ๆ เป็นชุดเครืองมือที่มีชื่อเสียง และถูกนำมาใช้ในกระบวนอบรมเชิงปฏิบัติการ (Workshop) บ่อยครั้ง ผืนผ้าใบที่เป็นที่นิยม ได้แก่ BMC; Business Model Canvas พี่ใหญ่ ลูกพี่ลูกน้อง LEAN Canvas พี่รอง The Value Preposition Canvas และน้องเล็ก Emphathy Canvas ข้อสังเกตุที่ผู้เขียนขอเสนอไว้ ได้แก่
- สิ่งสำคัญประการแรก Facilitator ต้องเข้าใจคุณสมบัติและวัตถุประสงค์ของ Canvas ที่ร่วมกัน คือ "ภาพรวม" และ "ความเชื่อมโยง"
- ปัญหาคือ เยาวชนไทย หรือคนไทย มิได้ถูกฝึกให้มีความเชื่อมโยง เมื่อจะต้องใช้เครื่องมือที่ต้องเชื่อมโยงกันภายในผืนผ้าใบ หรือกับศาสคร์และความรู้อื่น ๆ มักเกิดปัญหา
- ปัญหาต่อมาคือ การตีความ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเยาวชนที่ไม่มีประสบการณ์ และหรือ คนทำงานที่มีประสบการณ์แบบ Silo Working Based จะไม่สามารถตีความ ข้อมูลได้
- ความรู้พื้นฐานอันมาจากหลักพื้นฐาน คือ "กระบวนการตั้งคำถาม" ซึ่งหากเยาวชนและคนไทยตั้งคำถามเป็น จะทำให้ Canvas เป็นเครื่องมือที่ตรงพลัง ทว่า เราท่านก็ทราบว่าคนไทยตั้งคำถามไม่เป็น และตังคำถามไม่เก่ง
- กระบวนการที่ Facilitator จะเอา Canvas มาใช้ จะต้องถูกออกแบบ และปรับใช้ตามสถานการณ์
- ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีทักษะในการฟัง และการตีความหรือการอ่านระหว่างบรรทัดไม่ดี จากพื้นฐานของการศึกษา วิธีการ และสมาธิ Facilitator ควรเลือกหยุด เลือกจังหวัอธิบาย และตรวจสอบให้เหมาะสม แต่ส่วนมาก จะจำกัดด้วยเวลา และมีความพยายามจะดันทุรังเพื่อให้การเติมช่องว่างสมบูรณ์แบบ
- ผู้นำ wokrshop ที่ไม่ได้เป็น Facilitator จะเริ่มต้นด้วยการให้ fill in the blank และไม่ได้บอกว่า แต่ละ Canvas นั้น เป็นกระบวนการขั้นตอน Partial Process หรือ Overall Plan ทำให้เกิดความสับสน
- Facilitator ต้องรู้จังหวะในการปรับบทบาท บางสถานการณ์ จะต้องเปลี่ยนหมวกเป็น Teacher เมื่อพื้นฐานของผู้เข้าอบรมอ่อนแอในประเด็นนั้น ๆ ในหลาย ๆ สถานการณ์จะต้องกลายสถาพเป็น Mentoring ด้วยการนำประสบการณ์มาตั้งคำถามเพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมได้หยุดคิด และพิจารณา บางครั้งอาจจะต้องลวงให้พลาด และให้คำแนะนำ ชี้แนะ ถึงสาเหตุของความผิดพลาด
- กระบวนการ Mentoring เป็นเพียงการแนะนำ มิใช่การแนะเพื่อให้เห็นแบบเช่นที่ Mentor ต้องการ ในการนี้ Facilitator ควรระลึกการเป็น Faciliator ไม่ใช่ Teacher, Director หรือ Commander ที่โน้มนำให้ผู้เขาอบรมเชื่อตามตนเอง ยิ่งเฉพาะกับเยาวชนไทยที่ขี้เกรงใจ หัวอ่อน ไม่กล้าถาม ไม่ออกความคิดเห็นขัดแย้งกับ Mentor
- กระบวนการ Mentoring ในกรณีมี Mentor หลากหลายคน มันไม่เกิดกระบวนการ Brief and Sync up บ่อยครั้งที่มีความแตกต่าง หรือ overwrite กันไปมาทำให้นักศึกษา และผู้ที่ไม่มีประสบการณ์เกิดความสับสน
- การบวนการยกตัวอย่าง หรือแสดงตัวอย่าง ไม่ได้ถูกคัดสรร คนไทยมีพฤติกรรม "จำ" และ "ทำตาม" ในสิ่งที่พวกเขาเรียกผู้นำ Workshop ว่าอาจารย์ การยกตัวอย่างจำเป็นจะต้องตรวจสอบความเข้าใจ
กระบวนการ Design Thinking
กำลังเป็นเครื่องมือยอดนิยมในประเทศไทย (ณ ขณะที่เขียนบทความ กรกฎาคม 2562) พบเห็นได้หลากหลายจากคอร์มของโค้ชต่าง ๆ และในกิจกรรมที่มาแทนที่ความนิยมเรื่อง Startup ซึ่งเกิดก่อนหน้านี้ พบเห็นได้ในองค์กรภาคเอกชนขนาดใหญ่ องค์กรภาครัฐผ่านหน่วยงานการพัฒนาการออกแบบ และในภาคการศึกษา โดย "ถูก" ใช้เป็นแนวทางการคิดสร้างนวตกรรม หรือทางออกของปัญหา โดยมากถูกจัดเป็น event ในการอบรมบุคลากร โดยส่วนน้อยถูกพัฒนาเป็นโครงการต่อเนื่อง โดยใช้ Design Thinking เป็นกระบวนการเริ่มต้น
ข้อดีของเครื่องมือที่แตกต่างตางเครื่องมือยุคคลาสสิค คือ มีการผสมกสานวิธีการยืนยัน หรือ อ้างอิงข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ ซึ่งแตกต่างจากชุดความรู้ในสมัย 2 ศตวรรษที่แล้ว ที่ก่อนหน้านั้นมีกระบวนการเช่นเดียวกัน เพียงแต่ไม่ได้บรรจุขั้นตอนในการนำมาใช้ ทว่าแต่ละเครื่องมือก็จะมีข้อจำกัด ข้อดี และข้อเสียที่แตกต่างกันไป และเหมาะสมกับสถานการณ์หนึ่ง ๆ เสมอ แต่กระบวนการคิดต่างหากที่สำคัญ
ในระดับ นักศึกษาปริญญาตรี หรือรุ่นเยาว์กว่า กระบวนการ Design Thinking ควรถูกใช้ในลักษณะ "การสร้างกระบวนความคิด" ที่จะต้องมี Facilitator และ Mentor คอย "แนะ" แต่ไม่ "นำ" และที่สำคัญไปกว่านั้น คือ ให้เน้นน้ำให้นักศึกษาเข้าใจว่า เป็นเพียงหนึ่งในทางเลือกในการคิดทางออกของปัญหา มิใช่เป็นแนวทางหลักแนวทางเดียว ผู้เขียนขอเน้นปัญหาที่ Design Thinking ถูกนำไปใช้กับนักศึกษาเป็นสำคัญ โดยพบว่ามีปัญหาดังต่อไปนี้
Part แรก UNDERSTANDING หรือ MISUNDERSTANDING
Part ที่สอง Create Solving Solution หรือ Create Prejudice Solution
Part ที่สาม Deliver ส่งมอบ Value ไปยังผู้ใช้ หรือ ส่งมอบงานใน event
ผู้เขียนอยากให้ กระบวนการ Design Thinking ปะปนไปด้วย Approaching จากวิธีออื่น ๆ เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ที่เหมาะสม เพราะว่า Design Thinking ที่เกิดขึ้นที่ Standford นั้น สร้างบนบริยทแบบ Standford ที่แตกต่างจากบริบทของประเทศไทย เราไม่ควรเอาเครอื่งมือ Alien มาใช้โดยที่เราไม่ปรับให้เข้าับ พื้นฐานความรู้ พืนฐานวิธีคิด เหตุผลและตรรกนิยม ซึ่งพื้นฐานการศึกษาของเราไม่ได้เป็นเช่น Standford ผู้เขียนเห็นว่า เวลาเอาเครื่องมือนี้มาใช้ในประเทศไทย จำเป็นยิ่งที่จะต้อง Transform ด้วยบริบทของเราก่อนเสมอ มันอาจจะแตกต่างจาก Certified Design Thinking แต่ทว่ามันไม่ได้ผิดในการสร้างกระบวนการคิด
กระบวนการเหล่านี้ควรเริ่มจากปัญหาที่เล็ก ใกล้ตัว เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ ก่อนที่จะกระโดดไปยังปัญหาที่ใหญ่ แต่ทว่าเนื่องด้วยการทำ Design Thinking ถูกจัดในรูปแบบกิจกรรมเสมอ มีข้อจำกัดด้านเวลา เช่น ในระยะเวลา 1-2 วัน พอจบกระบวนการถึงขั้นสุดท้าย นำเสนอก็มักจะหยุดการพัฒนา และ Mentor ไม่ได้มีโอกาสในการร่วมกับนักศึกษา "ถอดบทเรียน" ซึ่งน่าเสียดาย
สิ่งที่กระบวนการเรียนรู้ในประเทศไทย ไม่ว่าจะเป็น Design Thinking หรือวิธีการอื่น ๆ คือ ค่านิยมไทย ไม่ยอมรับกระบวนการที่ไม่มี output เป็นผลงาน จบลงที่การดันทุรังทำอย่างไรก้ได้ให้สิ้นกระบวนการ ทั้ง ๆ ที่ กระบวนการที่ควรวกกลับไป ขั้นตอน Emphathize หรือ เมื่อเดินทางมาถึง Ideate แล้ว ไม่มีการ Verification กลับไปยัง 2 กระบวนการแรก แต่มุ่งไปที่ Prototype ซึ่งไม่มีโอกาส Test ในงานจริง และทึกทักเอาเองว่า ได้ทำ Design Thinking ครบวงรอบแล้ว เครื่องมือใด ๆ ย่อมดี ในการใช้ด้วยบริบทหนึ่ง ๆ Design Thinking เป็นเครื่องมือที่ดี ทว่าวิธีใช้งานเพื่อสร้างผลลัพท์แบบที่ทำกันในประเทศไทยนั้น ผู้เขียนขอให้พิจารณาปรับประบวนการ
ผู้อ่านเมื่ออ่านมาถึงขั้นตอนนี้ อาจสงสัยว่าทำไมผู้เขียนต้องเขียนด้วยลีลา "มากความ" แต่ไม่สรุปข้อเจีนให้เป็นข้อเขียนที่ "ชัดเจน" แบบบทความวิชาการ เพราะว่าผู้เขียนต้องการสร้างกระบวนการคิด Mindset แบบ Entreprenuerial แม้กระทั้งในบทความ คำตอบนั้นสำคัญ แต่ถ้าแจ้งแถลงไขคำตอบ อาจเป็นกรอบหรือข้อจำกัดไม่ให้ คำตอบอื่น ๆ เกิดขึ้นได้ การมีกระบวนวิธีการคิด และกระบวนการทำ โดยพิจารณาทั้งเห็นด้วย และไม่เห็นด้วย จากข้อเขียนที่ผู้เขียนพาท่านเดินทางมาด้วยกัน จะเกิดประโยชน์มากกว่า และนี่คือ Entreprenurial Writting Style
กำลังเป็นเครื่องมือยอดนิยมในประเทศไทย (ณ ขณะที่เขียนบทความ กรกฎาคม 2562) พบเห็นได้หลากหลายจากคอร์มของโค้ชต่าง ๆ และในกิจกรรมที่มาแทนที่ความนิยมเรื่อง Startup ซึ่งเกิดก่อนหน้านี้ พบเห็นได้ในองค์กรภาคเอกชนขนาดใหญ่ องค์กรภาครัฐผ่านหน่วยงานการพัฒนาการออกแบบ และในภาคการศึกษา โดย "ถูก" ใช้เป็นแนวทางการคิดสร้างนวตกรรม หรือทางออกของปัญหา โดยมากถูกจัดเป็น event ในการอบรมบุคลากร โดยส่วนน้อยถูกพัฒนาเป็นโครงการต่อเนื่อง โดยใช้ Design Thinking เป็นกระบวนการเริ่มต้น
ข้อดีของเครื่องมือที่แตกต่างตางเครื่องมือยุคคลาสสิค คือ มีการผสมกสานวิธีการยืนยัน หรือ อ้างอิงข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ ซึ่งแตกต่างจากชุดความรู้ในสมัย 2 ศตวรรษที่แล้ว ที่ก่อนหน้านั้นมีกระบวนการเช่นเดียวกัน เพียงแต่ไม่ได้บรรจุขั้นตอนในการนำมาใช้ ทว่าแต่ละเครื่องมือก็จะมีข้อจำกัด ข้อดี และข้อเสียที่แตกต่างกันไป และเหมาะสมกับสถานการณ์หนึ่ง ๆ เสมอ แต่กระบวนการคิดต่างหากที่สำคัญ
ในระดับ นักศึกษาปริญญาตรี หรือรุ่นเยาว์กว่า กระบวนการ Design Thinking ควรถูกใช้ในลักษณะ "การสร้างกระบวนความคิด" ที่จะต้องมี Facilitator และ Mentor คอย "แนะ" แต่ไม่ "นำ" และที่สำคัญไปกว่านั้น คือ ให้เน้นน้ำให้นักศึกษาเข้าใจว่า เป็นเพียงหนึ่งในทางเลือกในการคิดทางออกของปัญหา มิใช่เป็นแนวทางหลักแนวทางเดียว ผู้เขียนขอเน้นปัญหาที่ Design Thinking ถูกนำไปใช้กับนักศึกษาเป็นสำคัญ โดยพบว่ามีปัญหาดังต่อไปนี้
Part แรก UNDERSTANDING หรือ MISUNDERSTANDING
- ในกระบวนการ Emphathize ปัญหาหลักที่พบในกระบวนการนี้ของนักศึกษา คือ การตั้งคำถามได้ในระดับเดียว หรือ ไม่สามารถตั้งคำถาม เพื่อนำมาซึ่งข้อมูลได้ (กระบวนการ 5WXH ในหัวข้อที่ผ่านมา) หรือไม่สามารถสร้างการสัมภาษณ์พูดคุยกับผู้ใช้ หรือเจ้าของปัญหาได้ ในกิจกรรม Hackraton ของสถาบันหนึ่งที่ผู้เขียนเข้าไปมีส่วนร่วมมา อาจารย์ผู้จัดกิจกรรมทราบปัญหานี้ จึงได้มีกระบวนการแนะนำการตั้งคำถาม การสร้างบทสนทนา ซึ่งเป็นการแก้ปัญหาที่ดี
- ในกระบวนการ Define ปัญหาหลักที่พบ คือ การเข้าใจ Customer Insight (พื้นฐานคือ Marketing Approaching) และการยืนยันปัญหา ซึ่งในกระบวนการนี้ เป็นกระบวนที่ที่จำเป็น หากผู้เขียนต้องทำกิจกรรมในช่วงนี้ ผู้เขียนจะดึงเอาวิธีการแบบ Startup มาผสมผสาน ในขั้นตอน Define และ Verify Problem บ่อยครั้งทีพบว่า นักศึกษามี Prejudice (หรือสมมตุฐานในใจมาก่อน) ในกระบวนการ Emphathize ก็ตั้งคำถามเพื่อยืนยันสมมุติฐานในใจ และเมื่อมาถึงกระบวนการนี้ นักศึกษามักจะข้ามกระบวนการนี้ หรือ กระบวนการ Define ที่ถูกใช้กัน คือ การทำ Silent Listing (Brain stroming) ก็พัฒนามาจาก Emphathize ที่มีความพกพร่อง
Part ที่สอง Create Solving Solution หรือ Create Prejudice Solution
- ในกระบวนการ Ideate (การสนธิคำระหว่าง Idea + Create; โดยผู้เขียน) ปัญหาหลักสำคัญยิ่งมาจากกระบวนการในช่วง Understanding ดังที่แถลงไว้ด้านบน ปัญหาหลักต่อมา คือ ข้อจำกัดด้านความรู้, เทคโนโลยี, การบวนการทางสังคม วัฒนธรรม, กฎหมาย, ความแตกต่างด้านพฤติกรรมและภูมิสังคม (ทั้งหมดนี่คือ พื้นฐานที่หัวข้อก่อนที่ผู้เขียนนำเสนอไว้) โดยเรามักจะพบว่า Ideate ที่เกิดขึ้นส่วนมากจะไม่สามารถก้าวล่วงข้อจำกัดเหล่านี้ และพูดกันตามตรง Mentor เอง ก็มีข้อจำกัดเดียวกัน ทำให้เกิด "กำแพง" ของวิธีการคิดแก้ปัญหา ในกระบวนการขั้นตอนนี้ เป็นขั้นตอนที่ควรจพใช้เวลาพอ ๆ กันกับ 2 กระบวนการแรก ในความเห็นของผู้เขียน กลับกลายเป็นว่า มักจะเป็นกระบวนการที่ถูกย่นย่อ ด้วยข้อจำกัดด้านเวลาเมื่อ Design Thinking เป็น Event บ่อยครั้งเราจะได้ "SOLUTIONS" ที่ถูกคิดไว้แต่แรกแล้ว ในไอเดียส่วนตัวของคนในทีม
Part ที่สาม Deliver ส่งมอบ Value ไปยังผู้ใช้ หรือ ส่งมอบงานใน event
- ในกระบวนการ Prototype ปัญหาหลักของการใ้ชเครื่องมือนี้คือ เรา(ค่านิยมไทย) มักจะวัดผลจากสิ่งที่เป็น "รูปร่าง" และเราก็จะทุ่มเทให้ "รูปร่างที่จับต้องได้เกิดขึ้นเสมอ" โดยมักจะเป็นขั้นตอนที่ถูกใช้เวลามากที่สุด ในการ "มะโน" ใน Design Thinking ที่เป็น Event นักศึกษาจะพยายามทุ่มเทความสามารถทั้งหมด เพื่อทำให้ Prototype เกิดขึ้น บน Understading และ Ideate ที่ไม่ได้ Verifiy ก่อนลงมือทำ และที่น่าปวดใจคือ เราไม่ยอมรับว่า งานและเวาที่นักศึกษาได้คิด สร้างกระบวนการใน 2 ขั้นตอนที่ผ่านมา สามารถกลับไปเริ่มต้นใหม่ได้ หากกระบวนการ verify เมื่อสิ้นสุด Ideate นั้นไม่ได้แก้ปัญหา หรือแม้กระทั่งไม่ได้เป็นปัญหาที่แท้จริง คนไทยมองค่าของกระบวนการคิดที่ล้มเหลวเป็น "โทษ" หากเราไม่ปรับแก้ค่านิยมเหล่านี้ เราก็จะวนอยู่กับการเป็นชาติที่มีการเกิดขึ้นของนักคิด นัดลงมือ น้อย ๆ และคนที่ทำแต่ไม่สำเร็จ จะหมดกำลังใจ เราจะไม่สามารถเป็น Thinker and Executer Nation ได้
- กระบวนการสุดท้าย คือ Test ซึ่งคือ การ Test Prototype ซึ่งมักไม่เกิดขึ้นใน Design Thinking ในภาคการศึกษาในประเทศไทย แต่ตัดตอนด้วย การบวนการตัดสินของกรรมการ เพราะว่า Design Thinking เป็น Event มากกว่า จะเป็นรูปแบบการเรียนรู้ ปัญหาของการกระบวนการนี้คือ TEST ช้าไป TEST เมื่อ Prototype ออกเป็นรูปร่าง และเป็น Cost แล้ว ผู้เขียนชอบกระบวนการคิดแบบ Start up คือ Test ในทุกขั้นตอน หรือ Agile ในทุกขั้นตอน ส่วนในกระบวนการของ Prototype ก็ควร Test ด้วย A Minimum Viable Product (MVP)
ผู้เขียนอยากให้ กระบวนการ Design Thinking ปะปนไปด้วย Approaching จากวิธีออื่น ๆ เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ที่เหมาะสม เพราะว่า Design Thinking ที่เกิดขึ้นที่ Standford นั้น สร้างบนบริยทแบบ Standford ที่แตกต่างจากบริบทของประเทศไทย เราไม่ควรเอาเครอื่งมือ Alien มาใช้โดยที่เราไม่ปรับให้เข้าับ พื้นฐานความรู้ พืนฐานวิธีคิด เหตุผลและตรรกนิยม ซึ่งพื้นฐานการศึกษาของเราไม่ได้เป็นเช่น Standford ผู้เขียนเห็นว่า เวลาเอาเครื่องมือนี้มาใช้ในประเทศไทย จำเป็นยิ่งที่จะต้อง Transform ด้วยบริบทของเราก่อนเสมอ มันอาจจะแตกต่างจาก Certified Design Thinking แต่ทว่ามันไม่ได้ผิดในการสร้างกระบวนการคิด
กระบวนการเหล่านี้ควรเริ่มจากปัญหาที่เล็ก ใกล้ตัว เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ ก่อนที่จะกระโดดไปยังปัญหาที่ใหญ่ แต่ทว่าเนื่องด้วยการทำ Design Thinking ถูกจัดในรูปแบบกิจกรรมเสมอ มีข้อจำกัดด้านเวลา เช่น ในระยะเวลา 1-2 วัน พอจบกระบวนการถึงขั้นสุดท้าย นำเสนอก็มักจะหยุดการพัฒนา และ Mentor ไม่ได้มีโอกาสในการร่วมกับนักศึกษา "ถอดบทเรียน" ซึ่งน่าเสียดาย
สิ่งที่กระบวนการเรียนรู้ในประเทศไทย ไม่ว่าจะเป็น Design Thinking หรือวิธีการอื่น ๆ คือ ค่านิยมไทย ไม่ยอมรับกระบวนการที่ไม่มี output เป็นผลงาน จบลงที่การดันทุรังทำอย่างไรก้ได้ให้สิ้นกระบวนการ ทั้ง ๆ ที่ กระบวนการที่ควรวกกลับไป ขั้นตอน Emphathize หรือ เมื่อเดินทางมาถึง Ideate แล้ว ไม่มีการ Verification กลับไปยัง 2 กระบวนการแรก แต่มุ่งไปที่ Prototype ซึ่งไม่มีโอกาส Test ในงานจริง และทึกทักเอาเองว่า ได้ทำ Design Thinking ครบวงรอบแล้ว เครื่องมือใด ๆ ย่อมดี ในการใช้ด้วยบริบทหนึ่ง ๆ Design Thinking เป็นเครื่องมือที่ดี ทว่าวิธีใช้งานเพื่อสร้างผลลัพท์แบบที่ทำกันในประเทศไทยนั้น ผู้เขียนขอให้พิจารณาปรับประบวนการ
ผู้อ่านเมื่ออ่านมาถึงขั้นตอนนี้ อาจสงสัยว่าทำไมผู้เขียนต้องเขียนด้วยลีลา "มากความ" แต่ไม่สรุปข้อเจีนให้เป็นข้อเขียนที่ "ชัดเจน" แบบบทความวิชาการ เพราะว่าผู้เขียนต้องการสร้างกระบวนการคิด Mindset แบบ Entreprenuerial แม้กระทั้งในบทความ คำตอบนั้นสำคัญ แต่ถ้าแจ้งแถลงไขคำตอบ อาจเป็นกรอบหรือข้อจำกัดไม่ให้ คำตอบอื่น ๆ เกิดขึ้นได้ การมีกระบวนวิธีการคิด และกระบวนการทำ โดยพิจารณาทั้งเห็นด้วย และไม่เห็นด้วย จากข้อเขียนที่ผู้เขียนพาท่านเดินทางมาด้วยกัน จะเกิดประโยชน์มากกว่า และนี่คือ Entreprenurial Writting Style
แท้จริงแล้วประเทศไทย ในเวลานี้ (2019) กำลังอยู่บน การรับเอาเครื่องมือต่าง ๆ มาปรับเพื่อให้ "อยู่รอด" ท่ามกลาง Forces ของโลก และเทคโนโลยี ทว่า เราก็มักจะไหลไปตามกระแสเสมอ เราอ้าแขนรับเครื่องมือต่าง ๆ เอายึดเอาเครื่องมือนั้นคล้ายเป็นเครื่องมือวิเศษ ในภาคการศึกษา ผู้เขียนไม่แน่ใจว่าเป็นความตั้งใจจะสร้างวิธีการเรียนรู้ เพื่อสร้างคน หรือเป็นการเอาตัวรอดของสถาบันการศึกษา ในภาครัฐก็เป็นเช่นเดียวกัน ในภาคเอกชนดูราวจะมีความหวังในการอยู่ให้รอด ยังมีเครื่องมือ "ร่วมสมัย" อีกมาก อาทิ Digital Transformation and Enterprise Achitecture, Agile and Scrum, OKR และเครื่องมือที่เราหยิบยืมมา ปัญหาที่ประเทศเราประสงค์แก้ไข น่าจะเป็น "การสร้างนักแก้ปัญหา หรือ Entreprenuer" มากกว่าการสาละวนว่าจะใช้เครื่องมือใด จะใช้เครื่องมือใด ๆ ก็ได้ และหากท่านตามเครื่องมือ ความคิดเบื้องหลัง ข้อจำกัด และวิธีการของเครื่องมือเหล่านั้นทัน ท่านจะพบว่า เครื่องมือเหล่านี้ล้วนสร้างบนหลักการเดียวกัน แทบจะมีกระบวนวิธีการคล้ายกัน ต่างกันไปเพียงจุดประสงค์ หรือปัญหาที่จะแก้ไขเท่านั้น ก่อนเลือกเครื่องมือเป็นสรณะ เลือกสร้างผุ้ประกอบการ หรือ นักผจญและแก้ไขปัญหาก่อน
ขอยกเอาสำนวนโบราณ ที่ว่า รากฐานของตึกคืออิฐ รากฐานของชีวิตคือการศึกษา รากฐานของปัญหาแก้ได้ด้วยหลักการประกอบการ เครื่องมือ fancy คือสีสัน เลือกใช้ตามความสบายใจ แต่สังคมต้องร่วมสร้างมีพื้นฐานของการเป็นนักประกอบการให้เป็นหลักเป็นฐานที่ดีเสียก่อน ทักษะของการประกอบการ คือ คุณค่าค่าที่สังคมไทยควรสร้าง ส่งเสริม
อย่าเลือกเครื่องมือ ก่อนตั้งเป้าหมาย
เลือกเครื่องมือที่เหมาะสม
พื้นฐานสำคัญ พื้นฐานดีลีลาเด็ด
ทุกคนเป็นนักประกอบการ การประกอบการไม่ใช่อาชีพ แต่เป็นวิถีทางแก้ปัญหา
ขอยกเอาสำนวนโบราณ ที่ว่า รากฐานของตึกคืออิฐ รากฐานของชีวิตคือการศึกษา รากฐานของปัญหาแก้ได้ด้วยหลักการประกอบการ เครื่องมือ fancy คือสีสัน เลือกใช้ตามความสบายใจ แต่สังคมต้องร่วมสร้างมีพื้นฐานของการเป็นนักประกอบการให้เป็นหลักเป็นฐานที่ดีเสียก่อน ทักษะของการประกอบการ คือ คุณค่าค่าที่สังคมไทยควรสร้าง ส่งเสริม
อย่าเลือกเครื่องมือ ก่อนตั้งเป้าหมาย
เลือกเครื่องมือที่เหมาะสม
พื้นฐานสำคัญ พื้นฐานดีลีลาเด็ด
ทุกคนเป็นนักประกอบการ การประกอบการไม่ใช่อาชีพ แต่เป็นวิถีทางแก้ปัญหา