EP15 การบริหารทรัพยากรมนุษย์ กรณีศึกษา Startup และบริษัทขนาดเล็กในญี่ปุ่น
#ครูพักมอนซูนลักจำ EP 1 (ภาคพิเศษ จากการไปฟังสัมมนาเรื่อง Particularity of Human Resource Management in Successful Start-Ups โดย Assistant professor Takeshi Oyabu, Assistant professor of HRM, Keio business school, Keio University, Japan
พี่แว่นหน้าตาดี ขอแวะมาเล่นเล่า P-People ซึ่งเป็นส่วนสำคัญ และใหญ่มากในการ Marketing Mix ซึ่งงอกจาก 4Ps เป็น 7Ps ในกรณีนี้ P-People หมายถึง บุคคลากรในองค์กร ที่ต้องการการบริหารจัดการ ซึ่งเป็นที่มาของศาสตร์ที่เรียกว่า HRM; Human Resources Management และในรุ่นใหม่กว่า ก็บอกว่า อย่าเรียกว่า ทรัพยากร ให้เรียกว่า "ทุน" กลายเป็น HCM; Human Capital Management
--== IMPORTANTNOTE BEFORE START ==--
Oyaby Sensei เป็นอาจารย์ในสาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ที่มหาวิทยาลัย Keio ท่านได้กรุณาแบ่งปัน Presentation Slide มาเพื่อแบ่งปัน เนื้อหาที่พี่แว่นหน้าตาดีเล่าให้ฟัง เกิดจากความเข้าใจของพี่แว่นเป็นสำคัญ ซึ่งหากมีข้อผิดพลาดใด ๆ ไม่มีความเกี่ยวข้องกับ Oyabu Sensei เป็นเพียงความโง่เขลาของพี่แว่นหน้าตาดีเอง
-----------
Note จาก พี่แว่น--
- เรื่องของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ เริ่มจากความเข้าใจ "มนุษย์" ซึ่ง มนุษย์นั้น แตกต่างกันไปด้วยหลายปัจจัย กรณีศึกษาของญี่ปุ่น นั้น
ญี่ปุ่นมีความสำเร็จในการปฎิวัติการศึกษา และ ระบบวัฒนธรรม ตั้งแต่ยุคเมจิ สังคมญี่ปุ่น การศึกษาสมัยใหม่ เข้าถึงคนญี่ปุ่นทั่วไป และมีคุณภาพติดอันดับโลก ระบบวัฒนธรรม ทั้งระบบ Social Manner, Social Hierachy สิ่งนี้เป็น "บริบท" ที่ทำให้ การบริหารทรัพยากรมนุษย์จากญี่ปุ่นมีความแตกต่างในวิธีการ หรือ การยอมรับ หรือ ระยะเวลาที่ใช้ในการจัดการเปลี่ยนแปลง
- การบริการทรัพยากรมนุษย์ในญีปุ่่น ได้รับอิทธิพลจาก Aging Society หรือ สังคมผู้สูงอายุ ที่ญีปุ่่นพยากรณ์ล่วงหน้าไว้ตั้งแต่ 20 ปี ก่อน ซึ่งกำลังเกิดขึ้นในประเทศไทย ซึ่งผู้อ่านต้องเข้าใจ Time Frame สิ่งที่บรรยาเป็นสิ่งที่ประเทศไทยกำลังพบ และจะพบในอนาคต
- ญี่ปุ่น ได้รับอิทธิพลของ HRM จาก สหรัฐเมริกา (รวมไปถึงเรื่องราวของความรู้ แนวคิด วิธีการ ระบบการจัดการ นับตั้งแต่ เปลี่ยนแปลงในสมัยโตคุงาว่า กรณีเรือดำบังคับญี่ปุ่นเปิดประเทศ และได้รับอิทธิพลชัดเจน หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2
- สิ่งใดที่เป็นประโยชน์ให้นำไปใช้ นะครับ และโปรดใช้วิจารณาญาน เพราะว่านี่คือการสรุปโดย "พี่แว่น" ไม่ใช่โดย อ.โอยาบุ
-----------
- ประเทศญี่ปุ่นมีปัญหาด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ สำหรับธุรกิจใหม่ ที่เรียกว่า Starup และสำหรับ Small Size (S) ใน SME ในรอบ 20 ปีที่ผ่าน เป็นคำบอกเล่าที่ Oyabu Sensei กล่าวไว้ ซึ่งผมเองก็ค่อนข้างแปลกใจ ในประเทศที่มีความ Modern ทางความคิดมากกว่าไทย
- ที่ Keio Business School นั้น กำลังเริ่มหลักสูตร Entrepreneur ซึ่งกำลังเป็น Trend ของโลก มี 20% ของ Master Degree ที่จบไปแล้ว สามารถสร้างให้เกิดบริษัท Start Up ได้ และอยู่รอด (สถิติของ QUE; Queensland University of Entrepreneuer ใน ป.ตรี คือ 1% เมื่อจบ 4 ปี ราว 50 บริษัท ที่ดำเนินการ)
- Start up มีลักษณะหลัก คือ เริ่มต้นด้วยคนจำนวนน้อย (ไม่เกิน 5 คน), มีความเป็นมืออาชีพ (ซึ่งตรงนี้ ในไทยไม่มี จึงไม่เกิด Startup ที่ถูกวางไว้ว่าเป็นการแข่งขัน และนักศึกษามักเป็น Nominee ของอาจารย์ (พี่แว่นขอกัดนิดหน่อย), ใช้ข้อมูลอย่างยิ่งยวด (ส่วนของไทยนั้น มีแต่ Passion และ ไอเดีย ที่ขาดการใช้ข้อมูล) และ มักจะเติบโตได้เร็ว (ส่วนของไทยนั้น ยังไม่เกิด ที่เกิดก็ดับ ไม่รอดเป็นม้านิลมังกร ซึ่งจะเหลือเป็นยูนิคอร์นหามีไม่)
PART 1: 3 Key functions (มีทั้งหมด 8 chapters)
- Startup ในญีปุ่นมักมีปัญหา ขาดแคลนกำลังคนที่เหมาะสม ซึ่ง Oyabu Sensei บอกว่ามี 3 ประเภท ได้แก่
- Hacker (ซึ่งหมายถึงผู้เริ่มต้น, เจ้าของ, ต้นความคิด ซึ่งคน type นี้ มักจะเป็น Engineer สำหรับบริษัทในยุคที่ต้องใช้ Technology) คนเหล่านี้มักเป็นผู้คิดค้น Solutions ผ่าน ผลิตถัณฑ์และบริการ บริศัทที่เป็น Tech-Startup นั้น จะมีความโดดเด่นในการใช้เทคโนโลยีมาสร้างประสบการณ์ให้กับผู้ใช้ (ลูกค้า)
- Hipster (หมายถึงผู้ที่เกาะกระแส, อยู่ในสตรียมของแฟชั่นด้านเทคโนโลยี) คนเหล่านี้ มักเป็นคนสร้าง "แผนธุรกิจ" ซึ่งเข้าใจ จังหวะของตลาด และ ความต้องการของผู้บริโภค
- Hustler (หมายถึง คนที่ทำหนา้ที่ควบคุม บริการ) คนเหล่านี้ คือ กลุ่มนักบริหาร, บัญชี, การเงิน, ฝ่ายผลิต ควบคุม ฯลฯ คนที่มีความสามารถเหล่านี้มักขาดแคลน และหายาก ในโลก Startup
ปัญหาที่ Startup มัก "พัง" คือ มีแต่ Hacker ไม่มี Hipster และ Hustler
ปัญหาของ SM คือ มีแต่ Hipster และ Hustler แต่ไม่มี หรือขาด Hacker
บริษัท รุ่นใหม่ Startup ที่ดี คือ มี Combination ทั้ง 3 ส่วนอย่างลงตัว
- ญีปุ่่น กำลังเกิดการเผชิญระหว่างแนวคิดเดิม และแนวคิดใหม่ และมีความขาดแคลนนักศึกษาที่จะเข้าสู่โลกของ Startup ที่ผ่านมาในรอบ 10 ปี นี้บริษัทเดิม ที่มีอายุกว่า 100 ปี ของญีปุ่น ที่เรารู้จักกัน เช่น โตโยต้า, พานาโซนิก, นิสสัน ฯลฯ ที่มาจากโลกศคตวรรษที่ 19 คือ โลกแห่งการผลิต นั้น ถูก disrupt โดยจีนซึ่งก้าวขึ้นมาขึ้นแท่นผู้ผลิตแทน บริษัทของญีีปุ่นเหล่านี้ ที่สร้างความมั่งคั่งให้แก่ญี่ปุ่น กำลังชะลอตัว และถดถอย (ในปี 2020 คาดการณ์ GDP ของญี่ปุ่นจะโตเพียง 0.2%) ทว่า คนรุ่นเดิม ที่มีอิทธิพลสูง ยังไม่มีความเชื่อมั่นใน Startup ยังคงอยากให้คนรุ่นใหม่ทำงานกับรัฐ และบริษัทใหญ่ๆ (ใน Slide ใช้คำว่า Parent Block หรือ Wife Block)
เรื่องยาว และเข้มข้นมากนะครับ เอาเป็นวา่ พี่แว่นตัดบท จบภาคแรกไว้แค่นี้ก่อน หากมีคนสนใจก็จะมาเล่าเพิ่มใน EP16 ของ #บทเรียนง่ายๆสไตล์มอนซูน และ #ครูพักมอนซูนลักจำ
เพราะว่า นี่เพิ่งจะ ผ่านไป 1 ใน 8 ท่าดาบซามุไรจาก อจ.โอดาบุ นะครับ บอกเแล้วเรื่องยาว สนใจติดตาม MonsoonSIMTH และ #hashtag ที่เกี่ยวข้องนะครับ
ไม่แชร์ไม่มีแรงพิมพ์ครับ
#ครูพักมอนซูนลักจำ EP 1 (ภาคพิเศษ จากการไปฟังสัมมนาเรื่อง Particularity of Human Resource Management in Successful Start-Ups โดย Assistant professor Takeshi Oyabu, Assistant professor of HRM, Keio business school, Keio University, Japan
พี่แว่นหน้าตาดี ขอแวะมาเล่นเล่า P-People ซึ่งเป็นส่วนสำคัญ และใหญ่มากในการ Marketing Mix ซึ่งงอกจาก 4Ps เป็น 7Ps ในกรณีนี้ P-People หมายถึง บุคคลากรในองค์กร ที่ต้องการการบริหารจัดการ ซึ่งเป็นที่มาของศาสตร์ที่เรียกว่า HRM; Human Resources Management และในรุ่นใหม่กว่า ก็บอกว่า อย่าเรียกว่า ทรัพยากร ให้เรียกว่า "ทุน" กลายเป็น HCM; Human Capital Management
--== IMPORTANTNOTE BEFORE START ==--
Oyaby Sensei เป็นอาจารย์ในสาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ที่มหาวิทยาลัย Keio ท่านได้กรุณาแบ่งปัน Presentation Slide มาเพื่อแบ่งปัน เนื้อหาที่พี่แว่นหน้าตาดีเล่าให้ฟัง เกิดจากความเข้าใจของพี่แว่นเป็นสำคัญ ซึ่งหากมีข้อผิดพลาดใด ๆ ไม่มีความเกี่ยวข้องกับ Oyabu Sensei เป็นเพียงความโง่เขลาของพี่แว่นหน้าตาดีเอง
-----------
Note จาก พี่แว่น--
- เรื่องของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ เริ่มจากความเข้าใจ "มนุษย์" ซึ่ง มนุษย์นั้น แตกต่างกันไปด้วยหลายปัจจัย กรณีศึกษาของญี่ปุ่น นั้น
ญี่ปุ่นมีความสำเร็จในการปฎิวัติการศึกษา และ ระบบวัฒนธรรม ตั้งแต่ยุคเมจิ สังคมญี่ปุ่น การศึกษาสมัยใหม่ เข้าถึงคนญี่ปุ่นทั่วไป และมีคุณภาพติดอันดับโลก ระบบวัฒนธรรม ทั้งระบบ Social Manner, Social Hierachy สิ่งนี้เป็น "บริบท" ที่ทำให้ การบริหารทรัพยากรมนุษย์จากญี่ปุ่นมีความแตกต่างในวิธีการ หรือ การยอมรับ หรือ ระยะเวลาที่ใช้ในการจัดการเปลี่ยนแปลง
- การบริการทรัพยากรมนุษย์ในญีปุ่่น ได้รับอิทธิพลจาก Aging Society หรือ สังคมผู้สูงอายุ ที่ญีปุ่่นพยากรณ์ล่วงหน้าไว้ตั้งแต่ 20 ปี ก่อน ซึ่งกำลังเกิดขึ้นในประเทศไทย ซึ่งผู้อ่านต้องเข้าใจ Time Frame สิ่งที่บรรยาเป็นสิ่งที่ประเทศไทยกำลังพบ และจะพบในอนาคต
- ญี่ปุ่น ได้รับอิทธิพลของ HRM จาก สหรัฐเมริกา (รวมไปถึงเรื่องราวของความรู้ แนวคิด วิธีการ ระบบการจัดการ นับตั้งแต่ เปลี่ยนแปลงในสมัยโตคุงาว่า กรณีเรือดำบังคับญี่ปุ่นเปิดประเทศ และได้รับอิทธิพลชัดเจน หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2
- สิ่งใดที่เป็นประโยชน์ให้นำไปใช้ นะครับ และโปรดใช้วิจารณาญาน เพราะว่านี่คือการสรุปโดย "พี่แว่น" ไม่ใช่โดย อ.โอยาบุ
-----------
- ประเทศญี่ปุ่นมีปัญหาด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ สำหรับธุรกิจใหม่ ที่เรียกว่า Starup และสำหรับ Small Size (S) ใน SME ในรอบ 20 ปีที่ผ่าน เป็นคำบอกเล่าที่ Oyabu Sensei กล่าวไว้ ซึ่งผมเองก็ค่อนข้างแปลกใจ ในประเทศที่มีความ Modern ทางความคิดมากกว่าไทย
- ที่ Keio Business School นั้น กำลังเริ่มหลักสูตร Entrepreneur ซึ่งกำลังเป็น Trend ของโลก มี 20% ของ Master Degree ที่จบไปแล้ว สามารถสร้างให้เกิดบริษัท Start Up ได้ และอยู่รอด (สถิติของ QUE; Queensland University of Entrepreneuer ใน ป.ตรี คือ 1% เมื่อจบ 4 ปี ราว 50 บริษัท ที่ดำเนินการ)
- Start up มีลักษณะหลัก คือ เริ่มต้นด้วยคนจำนวนน้อย (ไม่เกิน 5 คน), มีความเป็นมืออาชีพ (ซึ่งตรงนี้ ในไทยไม่มี จึงไม่เกิด Startup ที่ถูกวางไว้ว่าเป็นการแข่งขัน และนักศึกษามักเป็น Nominee ของอาจารย์ (พี่แว่นขอกัดนิดหน่อย), ใช้ข้อมูลอย่างยิ่งยวด (ส่วนของไทยนั้น มีแต่ Passion และ ไอเดีย ที่ขาดการใช้ข้อมูล) และ มักจะเติบโตได้เร็ว (ส่วนของไทยนั้น ยังไม่เกิด ที่เกิดก็ดับ ไม่รอดเป็นม้านิลมังกร ซึ่งจะเหลือเป็นยูนิคอร์นหามีไม่)
PART 1: 3 Key functions (มีทั้งหมด 8 chapters)
- Startup ในญีปุ่นมักมีปัญหา ขาดแคลนกำลังคนที่เหมาะสม ซึ่ง Oyabu Sensei บอกว่ามี 3 ประเภท ได้แก่
- Hacker (ซึ่งหมายถึงผู้เริ่มต้น, เจ้าของ, ต้นความคิด ซึ่งคน type นี้ มักจะเป็น Engineer สำหรับบริษัทในยุคที่ต้องใช้ Technology) คนเหล่านี้มักเป็นผู้คิดค้น Solutions ผ่าน ผลิตถัณฑ์และบริการ บริศัทที่เป็น Tech-Startup นั้น จะมีความโดดเด่นในการใช้เทคโนโลยีมาสร้างประสบการณ์ให้กับผู้ใช้ (ลูกค้า)
- Hipster (หมายถึงผู้ที่เกาะกระแส, อยู่ในสตรียมของแฟชั่นด้านเทคโนโลยี) คนเหล่านี้ มักเป็นคนสร้าง "แผนธุรกิจ" ซึ่งเข้าใจ จังหวะของตลาด และ ความต้องการของผู้บริโภค
- Hustler (หมายถึง คนที่ทำหนา้ที่ควบคุม บริการ) คนเหล่านี้ คือ กลุ่มนักบริหาร, บัญชี, การเงิน, ฝ่ายผลิต ควบคุม ฯลฯ คนที่มีความสามารถเหล่านี้มักขาดแคลน และหายาก ในโลก Startup
ปัญหาที่ Startup มัก "พัง" คือ มีแต่ Hacker ไม่มี Hipster และ Hustler
ปัญหาของ SM คือ มีแต่ Hipster และ Hustler แต่ไม่มี หรือขาด Hacker
บริษัท รุ่นใหม่ Startup ที่ดี คือ มี Combination ทั้ง 3 ส่วนอย่างลงตัว
- ญีปุ่่น กำลังเกิดการเผชิญระหว่างแนวคิดเดิม และแนวคิดใหม่ และมีความขาดแคลนนักศึกษาที่จะเข้าสู่โลกของ Startup ที่ผ่านมาในรอบ 10 ปี นี้บริษัทเดิม ที่มีอายุกว่า 100 ปี ของญีปุ่น ที่เรารู้จักกัน เช่น โตโยต้า, พานาโซนิก, นิสสัน ฯลฯ ที่มาจากโลกศคตวรรษที่ 19 คือ โลกแห่งการผลิต นั้น ถูก disrupt โดยจีนซึ่งก้าวขึ้นมาขึ้นแท่นผู้ผลิตแทน บริษัทของญีีปุ่นเหล่านี้ ที่สร้างความมั่งคั่งให้แก่ญี่ปุ่น กำลังชะลอตัว และถดถอย (ในปี 2020 คาดการณ์ GDP ของญี่ปุ่นจะโตเพียง 0.2%) ทว่า คนรุ่นเดิม ที่มีอิทธิพลสูง ยังไม่มีความเชื่อมั่นใน Startup ยังคงอยากให้คนรุ่นใหม่ทำงานกับรัฐ และบริษัทใหญ่ๆ (ใน Slide ใช้คำว่า Parent Block หรือ Wife Block)
เรื่องยาว และเข้มข้นมากนะครับ เอาเป็นวา่ พี่แว่นตัดบท จบภาคแรกไว้แค่นี้ก่อน หากมีคนสนใจก็จะมาเล่าเพิ่มใน EP16 ของ #บทเรียนง่ายๆสไตล์มอนซูน และ #ครูพักมอนซูนลักจำ
เพราะว่า นี่เพิ่งจะ ผ่านไป 1 ใน 8 ท่าดาบซามุไรจาก อจ.โอดาบุ นะครับ บอกเแล้วเรื่องยาว สนใจติดตาม MonsoonSIMTH และ #hashtag ที่เกี่ยวข้องนะครับ
ไม่แชร์ไม่มีแรงพิมพ์ครับ