เป็นคำถามที่นักศึกษาจะรู้สึก และตั้งคำถามในใจ รุ่นพี่บางท่านที่เคยเข้าร่วมในปีก่อน ๆ มีคำถามเช่นกัน ผมจะข้อตอบคำถามนี้ดังต่อไปนี้
แนวทางสำคัญ:
ขึ้นชื่อว่าการแข่งขัน ใคร ๆ ก็อยากชนะ มันเป็นวิธีคิด ที่ถูกฝังรากในสังคมโลก แต่ "บ้าหนักมาก" ในสังคมไทย
พอผมจะบอกว่า "อย่ามองที่การแข่งขัน หรือผลลัพท์จากการแข่งขันเป็นที่ตั้ง ให้กลับมามองว่า คุณเก่งขึ้นกว่าเมื่อวานหรือไม่" ก็จะมีคนบอกว่าผมโลกสวย
เมื่อสิ้นสุดปี 2017 ในรอบคัดเลือก จาก 16 ทีมสุดท้าย เหลือ 8 ทีมเพื่อไปตัดเชือก ผมเห็นเดจาวู ซ้ำไปมาตั้งแต่ ปี 2016 กรณีแรก คือ นักศึกษาทีมหนึ่งกำลังจะแพ้ เพราะวิธีคิด และแผนอาจะยังไม่ดีพอ สิ่งที่ทีทนั้น ทำคือ ใส่ค่าตัวแปรในเกมส์ เพื่อทำให้ทีมอื่น ๆ ต้องประสบปัญหา นั่นคือวิธีคิด เพียงเพระาแพ้ชนะ ทีมนี้แพ้ และให้เหตุผลว่า เราไม่มีทางสู้คนที่เรียนสายวิชาธุรกิจได้ เพราะว่าเราเรียนสาย Software ทีมนี้นำความเสียใจกลับมหาวิทยาลัยไปพร้อมกับ "ความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับการแข่งขัน" เขาเหล่านั้นอาจไม่เคยอ่านคำปรารภของคนที่พยายามมากมายเพื่อให้เกิดเวทีการแข่งขันนี้
ในอาหารค่ำที่จัดไว้ให้ทุกทีมในรอบ 16 ทีมสุดท้าย บางตา เพราะว่า ทีมที่แพ้ หมดอาลัยตายอยาก บ้างเดินทางกลับทันที ไม่อยู่ร่วมกิจกรรมใด ๆ อันเป็นประโยชน์กับตัวเขาเองในวันรุ่่งขึ้น มีอีก 1 ทีม ซึ่งเป็นตัวเต็ง อาจจะเรียกว่า "ความหวังของหมู่บ้าน" เลยก็ว่าได้ นั่งร้องไห้ ขอบตาดำ เสียใจ บอกว่าทีมพลาดไปเพราะ score matrix ด้วยจุดทศนิยม
ในการแข่งขันมันมีดัชนีวัด ซึ่งวัดทุกคนในกฎเกณฑ์เดียวกัน เพราะว่ามันต้องหาผู้ชนะ ตามระเบียบวิธีการแข่งขัน ผมเดินไปหานักศึกษากลุ่มนั้น ถามว่า ร้องไห้ทำไม น้องๆ เหล่านั้น เสียใจที่ตัวเองพ่ายแพ้ ในความซาดิสต์ในสายโลหิตของผม และอยากให้เข้าฉุกคิด ผมพูดตรง ๆ ไปว่า "เสียดายทำไม ทำไมไม่คิดว่า คุณเก่งขึ้นแค่ไหนจากเมื่อครั้งแรกที่เราเจอกัน" หลังจากที่คำพูดง่าย ๆ สายโหดไปกระตุ้นความจริงในใจ น้องๆ กลุ่มนั้นก็ลุกมาปาดน้ำตาแล้วบอกว่า "ทำไมหนูลิมคิดไป ว่าที่พี่พูดมันเป็นเรื่องจริง" (Wording ไม่เป๊ะ แต่ใจความเป๊ะ)
ผมอาจเป็นผู้จัดการแข่งขันที่ไม่ดี เป็นพี่ชายที่ใจร้าย พูดตรง ๆ แต่ผมหวังดีกับคุณ ดังนั้น อย่าคิดแบบนี้ ต่อคำถามที่คุณเองก็ตั้งไว้ในใจ
ตอบคำถามแนวแม่น้ำทั้งห้ามาสนับสนุน:
ทุกสิ่งในโลกล้วนมีข้อดี และข้อเสีย ในตัวมันเอง เพียงแต่เรานั้น มองมันในมุมที่ตรงกับความคิดของเรา ขยายความเพื่อให้สิ่งที่เราคิดมน้ำหนัก และพร้อมจะเชื่อตาที่คิดเท่านั้นเอง .. เรื่องใด ๆ ในโลกล้วนลงอีรอบนี้เกือบทั้งนั้น
ถ้าผมจะตอบว่า
ทำไมหรือครับ เพราะว่า การมีเครื่องมือ อาจะมีความสะดวกซึ่งเป็นข้อดี ทว่าหากพิจารณากันจริง ๆ แล้ว หากจะใช้เครื่องมือให้เกิดประโยชน์ จะต้องมีการฝึกฝน ลองคิดสิครับ ว่า ใน 1 เทมอ ต่อวิชาเรียนกัน 13-15 ครั้ง เทอมหนึ่งเรียนกี่วิชา สำหรับนักศึกษา และอาจารย์สอนกี่วิชา ในกี่ระดับ ทุกคนเองก็มีเวลารัดตัว ในประสบการณ์หลายปีที่ผ่านมา มหาวิทยาลัยที่มีเครื่องมือ ต้องอุทิศเวลา ต้องว่างพร้อมกันในสมาชิกทุกคน ในทุกทีม พร้อมทั้งอาจารย์ด้วย ผมถึงบอกว่าจริงแบบมีเงื่อไน ต่อมา ตือ "ไม่แน่" ด้วยสาเหตุนี้
ประเด็นนำให้คิดอีกเรื่อง คือ การใช้เครื่องมือแบบขาดกรรมวิธีที่ถูกต้อง และบางครั้งก่อให้เกิด "อารมณ์แห่งความนิ่งนอนใจ" ซึ่งเกิดขึ้นบ่อย สิ่งที่สำคัญที่สุดในการได้รับประสบการณ์ MonsoonSIM คือ การคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ, การคาดการณ์ผลจากเหตุซึ่งมาจากข้อมูล, การประสานงานกันระหว่างทีมงาน ในการทำกิจกรรม ในจังหวะเวลาที่เหมาะสม, การวิเคราะห์ปัญหาถึงสาเหตุ และแก้ไข, การไม่มุ่งทำแต่งาน โดยไม่ใช้เครื่องมือและเทคโนโลยีอื่น ๆ, การหัดทำผิดพลาดและเรียนรู้จากมัน ซึ่งสิงเหล่านี้หากไม่มีในกระบวนการวิเคราะห์ และลงมือทำในแต่ละครั้ง ก็มาผิดทาง การทำแบบเดิมบ่อย ๆ และเชื่อว่าว่าดีแล้ว ถูกแล้ว เป็นอุปสรรคในการเรียนรู้ใหม่ ๆ และทำให้นักศึกษาเองที่มีประสบการณ์ไม่มากพอ มองปัญหาไม่กว้างและลึกพอ การได้ทำซ้ำแบบนี้บ่อย ๆ เป็นโทษมากกว่าประโยขน์
คำแนะนำของผมต่อการเป็นผู้ชนะ หากท่านประสงค์เช่นนั้น หรือ หากท่านจะเชื่อว่า วิธีดั่งวรรคบนช่วยท่านได้ในเวลาทำงาน และทำธุรกิจ นั่นแหละครับดี
อนึ่งการเจอคู่แข่งที่หลากหลายกรรมวิธี วิธีคิด เก่งไปในแต่ละด้าน จะทำให้ท่านเองพัฒนาวิธีคิด บางครั้งเล่นเกมส์เสร็จแล้ว หากท่านสละเวลามาคิดว่า ทำไม ช่วงนี้ของเกมส์เราพลาด, เพราะอะไรเราจึงเป็นที่ 3, ทำไมเราเป็นที่หนึ่งง่าย ๆ, จะเกิดอะไรขึ้น หาก.......(สมมติฐาน) แล้วทีมของเราตัดสินใจแบบนี้
ถ่าท่านทำได้อย่างนี้ ครั้งเดียวก็เก่งขึ้นแล้ว, สองหรือสามครั้งที่เจอคู่แข่งเก่ง ๆ คือการฝึกฝนที่ดี และนี่คิดความแท้ทรูที่ TH ERM Challenge และ MonsoonSIM Thailand ในนามมรสุมสยาม และมรสุมสยามชน จะได้ประโยชน์ต่างหาก
แนวทางสำคัญ:
ขึ้นชื่อว่าการแข่งขัน ใคร ๆ ก็อยากชนะ มันเป็นวิธีคิด ที่ถูกฝังรากในสังคมโลก แต่ "บ้าหนักมาก" ในสังคมไทย
พอผมจะบอกว่า "อย่ามองที่การแข่งขัน หรือผลลัพท์จากการแข่งขันเป็นที่ตั้ง ให้กลับมามองว่า คุณเก่งขึ้นกว่าเมื่อวานหรือไม่" ก็จะมีคนบอกว่าผมโลกสวย
เมื่อสิ้นสุดปี 2017 ในรอบคัดเลือก จาก 16 ทีมสุดท้าย เหลือ 8 ทีมเพื่อไปตัดเชือก ผมเห็นเดจาวู ซ้ำไปมาตั้งแต่ ปี 2016 กรณีแรก คือ นักศึกษาทีมหนึ่งกำลังจะแพ้ เพราะวิธีคิด และแผนอาจะยังไม่ดีพอ สิ่งที่ทีทนั้น ทำคือ ใส่ค่าตัวแปรในเกมส์ เพื่อทำให้ทีมอื่น ๆ ต้องประสบปัญหา นั่นคือวิธีคิด เพียงเพระาแพ้ชนะ ทีมนี้แพ้ และให้เหตุผลว่า เราไม่มีทางสู้คนที่เรียนสายวิชาธุรกิจได้ เพราะว่าเราเรียนสาย Software ทีมนี้นำความเสียใจกลับมหาวิทยาลัยไปพร้อมกับ "ความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับการแข่งขัน" เขาเหล่านั้นอาจไม่เคยอ่านคำปรารภของคนที่พยายามมากมายเพื่อให้เกิดเวทีการแข่งขันนี้
ในอาหารค่ำที่จัดไว้ให้ทุกทีมในรอบ 16 ทีมสุดท้าย บางตา เพราะว่า ทีมที่แพ้ หมดอาลัยตายอยาก บ้างเดินทางกลับทันที ไม่อยู่ร่วมกิจกรรมใด ๆ อันเป็นประโยชน์กับตัวเขาเองในวันรุ่่งขึ้น มีอีก 1 ทีม ซึ่งเป็นตัวเต็ง อาจจะเรียกว่า "ความหวังของหมู่บ้าน" เลยก็ว่าได้ นั่งร้องไห้ ขอบตาดำ เสียใจ บอกว่าทีมพลาดไปเพราะ score matrix ด้วยจุดทศนิยม
ในการแข่งขันมันมีดัชนีวัด ซึ่งวัดทุกคนในกฎเกณฑ์เดียวกัน เพราะว่ามันต้องหาผู้ชนะ ตามระเบียบวิธีการแข่งขัน ผมเดินไปหานักศึกษากลุ่มนั้น ถามว่า ร้องไห้ทำไม น้องๆ เหล่านั้น เสียใจที่ตัวเองพ่ายแพ้ ในความซาดิสต์ในสายโลหิตของผม และอยากให้เข้าฉุกคิด ผมพูดตรง ๆ ไปว่า "เสียดายทำไม ทำไมไม่คิดว่า คุณเก่งขึ้นแค่ไหนจากเมื่อครั้งแรกที่เราเจอกัน" หลังจากที่คำพูดง่าย ๆ สายโหดไปกระตุ้นความจริงในใจ น้องๆ กลุ่มนั้นก็ลุกมาปาดน้ำตาแล้วบอกว่า "ทำไมหนูลิมคิดไป ว่าที่พี่พูดมันเป็นเรื่องจริง" (Wording ไม่เป๊ะ แต่ใจความเป๊ะ)
ผมอาจเป็นผู้จัดการแข่งขันที่ไม่ดี เป็นพี่ชายที่ใจร้าย พูดตรง ๆ แต่ผมหวังดีกับคุณ ดังนั้น อย่าคิดแบบนี้ ต่อคำถามที่คุณเองก็ตั้งไว้ในใจ
ตอบคำถามแนวแม่น้ำทั้งห้ามาสนับสนุน:
ทุกสิ่งในโลกล้วนมีข้อดี และข้อเสีย ในตัวมันเอง เพียงแต่เรานั้น มองมันในมุมที่ตรงกับความคิดของเรา ขยายความเพื่อให้สิ่งที่เราคิดมน้ำหนัก และพร้อมจะเชื่อตาที่คิดเท่านั้นเอง .. เรื่องใด ๆ ในโลกล้วนลงอีรอบนี้เกือบทั้งนั้น
ถ้าผมจะตอบว่า
- การที่มหาวิทยาลัยบางที่เห็นประโยชน์ของ MonsoonSIM แล้วเอาไปใช้ในการเรียนการสอน และทำให้นักศึกษาในสถาบันการศึกษานั้น ๆ มีโอกาสมากกว่าจริงมั้ย ผมคงตอบว่า "จริง"
- นักศึกษาในสถาบันนั้นได้เปรียบจริงไม่ ผมจะตอบว่า "ไม่แน่"
- หากมีคนถามว่ามหาวิทยาลัยอื่น ๆ จะเสียเปรียบไหม ผมจะตอบว่า "ไม่"
ทำไมหรือครับ เพราะว่า การมีเครื่องมือ อาจะมีความสะดวกซึ่งเป็นข้อดี ทว่าหากพิจารณากันจริง ๆ แล้ว หากจะใช้เครื่องมือให้เกิดประโยชน์ จะต้องมีการฝึกฝน ลองคิดสิครับ ว่า ใน 1 เทมอ ต่อวิชาเรียนกัน 13-15 ครั้ง เทอมหนึ่งเรียนกี่วิชา สำหรับนักศึกษา และอาจารย์สอนกี่วิชา ในกี่ระดับ ทุกคนเองก็มีเวลารัดตัว ในประสบการณ์หลายปีที่ผ่านมา มหาวิทยาลัยที่มีเครื่องมือ ต้องอุทิศเวลา ต้องว่างพร้อมกันในสมาชิกทุกคน ในทุกทีม พร้อมทั้งอาจารย์ด้วย ผมถึงบอกว่าจริงแบบมีเงื่อไน ต่อมา ตือ "ไม่แน่" ด้วยสาเหตุนี้
ประเด็นนำให้คิดอีกเรื่อง คือ การใช้เครื่องมือแบบขาดกรรมวิธีที่ถูกต้อง และบางครั้งก่อให้เกิด "อารมณ์แห่งความนิ่งนอนใจ" ซึ่งเกิดขึ้นบ่อย สิ่งที่สำคัญที่สุดในการได้รับประสบการณ์ MonsoonSIM คือ การคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ, การคาดการณ์ผลจากเหตุซึ่งมาจากข้อมูล, การประสานงานกันระหว่างทีมงาน ในการทำกิจกรรม ในจังหวะเวลาที่เหมาะสม, การวิเคราะห์ปัญหาถึงสาเหตุ และแก้ไข, การไม่มุ่งทำแต่งาน โดยไม่ใช้เครื่องมือและเทคโนโลยีอื่น ๆ, การหัดทำผิดพลาดและเรียนรู้จากมัน ซึ่งสิงเหล่านี้หากไม่มีในกระบวนการวิเคราะห์ และลงมือทำในแต่ละครั้ง ก็มาผิดทาง การทำแบบเดิมบ่อย ๆ และเชื่อว่าว่าดีแล้ว ถูกแล้ว เป็นอุปสรรคในการเรียนรู้ใหม่ ๆ และทำให้นักศึกษาเองที่มีประสบการณ์ไม่มากพอ มองปัญหาไม่กว้างและลึกพอ การได้ทำซ้ำแบบนี้บ่อย ๆ เป็นโทษมากกว่าประโยขน์
คำแนะนำของผมต่อการเป็นผู้ชนะ หากท่านประสงค์เช่นนั้น หรือ หากท่านจะเชื่อว่า วิธีดั่งวรรคบนช่วยท่านได้ในเวลาทำงาน และทำธุรกิจ นั่นแหละครับดี
อนึ่งการเจอคู่แข่งที่หลากหลายกรรมวิธี วิธีคิด เก่งไปในแต่ละด้าน จะทำให้ท่านเองพัฒนาวิธีคิด บางครั้งเล่นเกมส์เสร็จแล้ว หากท่านสละเวลามาคิดว่า ทำไม ช่วงนี้ของเกมส์เราพลาด, เพราะอะไรเราจึงเป็นที่ 3, ทำไมเราเป็นที่หนึ่งง่าย ๆ, จะเกิดอะไรขึ้น หาก.......(สมมติฐาน) แล้วทีมของเราตัดสินใจแบบนี้
ถ่าท่านทำได้อย่างนี้ ครั้งเดียวก็เก่งขึ้นแล้ว, สองหรือสามครั้งที่เจอคู่แข่งเก่ง ๆ คือการฝึกฝนที่ดี และนี่คิดความแท้ทรูที่ TH ERM Challenge และ MonsoonSIM Thailand ในนามมรสุมสยาม และมรสุมสยามชน จะได้ประโยชน์ต่างหาก