ในที่นี้เป็นความหมายอย่างง่าย และใช้คำที่ตรงกันข้ามกัน เพื่อความเข้าใจของผู้เรียนเป็นสำคัญ
Over Supply (อุปทานส่วนเกิน) หรือเรียกว่า Surplus หมายถึง มีความสามารถในการตอบรับความต้องการมากกว่าความต้องการ ทำให้สินค้ามีมากกว่าความต้องการ ทำให้สินค้าเหลือ คงค้าง และจะต้องหาทางระบายสินค้าที่เกินความต้องการออกไป ผ่านวิธีการต่าง ๆ เช่น การนำไปขายในตลาดอื่นๆ, การนำมาแปรรูปหรือผ่านกระบวนการให้มีคุณค่าเพิ่มขึ้น เพื่อนำกลับไปขายในตลาดใหม่, หรือ การลดราคา หรือการใช้ Sales Promotion เพื่อขจัดสินค้าที่เกินความต้องการ
ปัญหาของ Over Supply ใน MonsoonSIM อาจเกิดได้จากหลายสาเหตุ เช่น
Under Supply (อุปทานส่วนขาด) หรือ ที่มักเรียกว่า Shortage คือ ปริมาณสินค้าที่เกิดจากกระบวนการ Procure นั้นน้อยกว่าความต้องการจริงของตลาด ทำให้ขาดโอกาส และอาจสูญเสียลูกค้าไปยังคู่แข่งที่มีกระบวนการจัดการสินค้าคงคลังที่มีประสิทธิภาพมากกว่า แนวทางการแก้ไขปัญหา อาจทำได้หลายวิธี เช่น หาสินค้าที่มีคุณภาพเดียวกันจากแหล่งอื่น ๆ มาเติมในคลังสินค้า, การใช้กลไกราคาเพื่อชะลอการลดลงของสินค้าคงคลังที่ยังเหลืออยู่, การใช้หลักการของ Safety Stock, การนำเสนอสินค้าทดแทนอื่น ๆ ให้กับผู้บริโภค เป็นต้น
Over Supply (อุปทานส่วนเกิน) หรือเรียกว่า Surplus หมายถึง มีความสามารถในการตอบรับความต้องการมากกว่าความต้องการ ทำให้สินค้ามีมากกว่าความต้องการ ทำให้สินค้าเหลือ คงค้าง และจะต้องหาทางระบายสินค้าที่เกินความต้องการออกไป ผ่านวิธีการต่าง ๆ เช่น การนำไปขายในตลาดอื่นๆ, การนำมาแปรรูปหรือผ่านกระบวนการให้มีคุณค่าเพิ่มขึ้น เพื่อนำกลับไปขายในตลาดใหม่, หรือ การลดราคา หรือการใช้ Sales Promotion เพื่อขจัดสินค้าที่เกินความต้องการ
ปัญหาของ Over Supply ใน MonsoonSIM อาจเกิดได้จากหลายสาเหตุ เช่น
- ไม่เข้าใจกระบวนการทางธุรกิจ
- ไม่ประสานงานกันภาบในองค์กร (ทีม)
- ไม่รู้ความต้องการที่แท้จริง และใช้กระบวนการจัดซื้อ และกระบวนการผลิตที่ไม่สอดคล้องกับความต้องการของตลาด
Under Supply (อุปทานส่วนขาด) หรือ ที่มักเรียกว่า Shortage คือ ปริมาณสินค้าที่เกิดจากกระบวนการ Procure นั้นน้อยกว่าความต้องการจริงของตลาด ทำให้ขาดโอกาส และอาจสูญเสียลูกค้าไปยังคู่แข่งที่มีกระบวนการจัดการสินค้าคงคลังที่มีประสิทธิภาพมากกว่า แนวทางการแก้ไขปัญหา อาจทำได้หลายวิธี เช่น หาสินค้าที่มีคุณภาพเดียวกันจากแหล่งอื่น ๆ มาเติมในคลังสินค้า, การใช้กลไกราคาเพื่อชะลอการลดลงของสินค้าคงคลังที่ยังเหลืออยู่, การใช้หลักการของ Safety Stock, การนำเสนอสินค้าทดแทนอื่น ๆ ให้กับผู้บริโภค เป็นต้น