คลิกที่นี่เพื่ออ่าน EP 8 ประเทศไทยจะเปลี่ยนแปลงเช่นไร เมื่อเราสร้างสังคมอุดมนักประกอบการ
| | |
이승철 홀로아리랑 (Holo Arirang song by LEE SEUNGCHUL), So Hyang - Arirang Alone | 소향 - 홀로 아리랑 และ 국악소녀 송소희 (Song So Hee) LA코리아 페스티벌 '홀로아리랑' 20140622 เพลงที่ดัดแปลงจากต้นฉบับของเพลงพื้นบ้าน "อารีดัง" ซึ่งเป็นเพลงประจำชาติเกาหลี เนื้อหาในเพลงแบบต้นฉบับ คือ การพรากจากกันของคนรักผ่านช่องเขาอารีดัง สะท้อนถึงช่วงเวลาอันยากลำบากของเกาหลีทางประวัติศาสตร์ที่โหดร้าย เสมือนการเดินผ่านช่องเขาสูง เหน็บหนาว หรืออุปสรรค ที่คนเกาหลีร่วมเดินทางมาร่วมกัน ฟังแล้วถึงท่านจะไม่เข้าใจเนื้อหา แต่อารมณ์ของเพลงนั้น จะพาท่านเข้าใจความยากลำบากของเกาหลี ก่อนจะมีวันที่สวยงามเฉกเช่นปัจจุบัน ให้เราได้เรียนรู้กัน
หากท่านปนระสงค์ควาสสิคของบทเพลงนี้ ฉบับที่ได้รับการเผยแพร่และคุ้นเคยมากที่สุด ซึ่งท่านได้จะรู้สึกความเป็น Folk Song และเล่าเรืองได้ดีคือ version ของฟรานซิส ยิป หรือหากท่านอยากฟังทำนองเพลงต้นฉบับ แต่แปลงเนื้อร้องเป็นภาษาไทย ขอแนะนำ "เสียงครวญจากเกาหลี" ที่มีเนื้อหาจากสงครามเกาหลีมาถ่ายทอด
หากท่านปนระสงค์ควาสสิคของบทเพลงนี้ ฉบับที่ได้รับการเผยแพร่และคุ้นเคยมากที่สุด ซึ่งท่านได้จะรู้สึกความเป็น Folk Song และเล่าเรืองได้ดีคือ version ของฟรานซิส ยิป หรือหากท่านอยากฟังทำนองเพลงต้นฉบับ แต่แปลงเนื้อร้องเป็นภาษาไทย ขอแนะนำ "เสียงครวญจากเกาหลี" ที่มีเนื้อหาจากสงครามเกาหลีมาถ่ายทอด
หมายเหตุ
- บทความนี้ไม่ใช่บทความทางวิชาการ ไม่เหมาะกับผู้อ่านสายวิชาเกินที่วนอยู่กับความมะโน
- เขียนขึ้นจากประสบการณ์ในการเดินทางในประเทศเกาหลี เมื่อ 28 มกราคม - 5 กุมภาพันธ์ 2563 โดยมีโอกาสได้เห็น รับฟัง พูดคุย กับตัวแทนหน่วยงานต่าง ๆ ของประเทศเกาหลี และเช่นเคย อะไรดีดีก็เก็บ อะไรไม่ดีก็โยนทิ้งไป
- ผู้เขียนขอให้เรื่องนี้เป็นเรื่องแรกของ KEX1 หรือ Korean Experience Series และเป็น EP 9 ที่ต่อจากสังคมไทยสังคมอุดมนักประกอบการ (อ่าน EP8 ได้ที่นี่) โดยมีแรงบันดาลใจจะถ่ายทอดประสบการณ์ และมาเล่าต่อให้ "สังคม" ไทย "เรียนรู้" จากประสบการณ์ของผู้อื่น
เหตุใดประสบการณ์ของเกาหลีจึงน่าสนใจกับการปรับ "วิถี Start Up อย่างไทย สู่สังคมอุดมนักประกอบการ"
คำตอบแรก คือ บนความสวยงามของเศรษฐกิจเกาหลี บนนวตกรรมที่เขาแสดงสู่โลก มันไม่ได้มีแต่ความ "สวยหรู" ที่เราควรมอง กว่าที่ K-Culture K-Pop จะหลากท่วมโลกจนสร้างเม็ดเงินจากวัฒนธรรมได้ กว่าที่ เขาจะเป็นผู้นำด้าน Semi Conductor และเทคโนโลยีชั้นสูง เขาเองขายเครื่องซักผ้ามาก่อนจะขายจอ 8K ที่เกริ่นมาแบบนี้ ผมกำลังชวนให้เราเข้าใจว่า เราควรดูทั้งเรื่อง ดูในส่วนที่เป็น Drama Sci-fi Horror ที่เกิดขึ้นระหว่างทางด้วย ไม่ใช่ดูเฉพาะ "ตอนจบ" ที่สวยงาม และสิ่งที่เราจะเรียนรู้ในช่วง Authum in Korea ความหม่นหมองในการพัฒนาประเทศ, Hallow Winter ความล้มลุกคลุกคลาน ความเจ็บปวดในเหมันตฤดูที่หนาวเหน็บ จนเขารอดเข้าสู่ Korean Spring ใบไม้ผลิแห่งความหวัง และ พบ Summer ที่ใฝ่ฝัน อย่างในปัจจุบัน การเดินทางของเกาหลีน่าสนใจยิ่ง
คำตอบที่สอง คือ ไทย เคยอยู่ในสถาวะที่ดีกว่าเกาหลี ตั้งแต่ก่อนสงครามโลก จนกระทั่งถึงช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ในราว 80 ปีก่อน ซึ่งในขณะนัันไทยกับเกาหลีเคยอยู่ในสถานะใกล้เคียงกัน เมื่อ 30 ปีก่อน เกาหลี Sprint ตัวออกห่างจากไทย ในสมัย Asian Newly Industrialized Countries (NICs) ที่เขาเป็นเสือ 4 ตัวแห่งเอเซีย และเราจะเป็น "ตัวที่ 5" หรือ โชติช่วงชัชวาลย์ จบลงที่เราเป็น "แมวเมายาดองแบบปัจจุบัน", ปัจจุบันไทยกับเกาหลีแตกต่าง เกาหลีขยับเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว ในขณะที่เราอยู้ในกับดับของรายได้ปานกลาง ผมจึงตั้งชื่อหัวข้อว่า "บทเรียนจากแดนกิมจิ สู่เมืองส้มตำ" เพราะว่า เรามีความคล้ายคลึงกันมากนั่นเอง
คำตอบที่สาม เกาหลีเป็นตัวแทนของ Start up Nation และ Entreprenuership Nation ที่ดี ที่เราควร "เลียนแบบ" และ "พัฒนา" และสร้าง "นวตกรรม" (From Copy and Develop to Copy and Innovate) เพราะในประวัติศาสตร์การบุกเบิก Startup และ Entreprenuership เกาหลีต้องฝ่าฟันอุปสรรคมากมาย ทดลองหลายโมเดล ทำพลาดหฃายครั้ง เรียนรู้ แก้ไขจริงจัง ทว่า เกาหลี Dedicated (อุทิศ) สรรพกำลังและทรัพยากร ในโลกของ Strartup จะมีศัพท์แปลก ๆ สำหรับพวกคนหัวโบราณ เช่น Fail fast หรือในบริษัทชั้นนำแบบ Google จะมี 100x ในโลกขอ Experiential Learning คือ Learning from mistake/learning by doing จะหมวดใดก็ตามเกาหลีได้ผ่านมาแล้ว และพร้อมจะก้าวสู่วงรอบใหม่ ซึ่งอาจจะต้องผิดหวัง และเรียนรู้ ทว่าเกาหลีได้คุ้นเคยกับกระบวนการนี้แล้วกว่า 20 ปี
คำตอบที่สี่ หากเราจะต้อง Copy and Innovate ในความเป็นเอเซียนั้น ยังมีวัฒนธรรมพื้นฐานที่ใกล้เคียงกัน ต่อให้รูปแบบและพัฒนาการทางสังคมของเราอาจจะช้ากว่าหลายประเทศที่นำหน้าเราไปก็ตาม แต่มันดีกว่าที่จะไป "ตามรอยฝรั่ง" เพราะว่าเราตามรอยฝรั่งและผสมเป็นไทยมาหลายร้อยปีแล้ว เราอาจจะต้องลองผสม "เอเซีย" เขากับความเป็น "ไทย" ของเรา ถ้าถามผม ไต้หวันและเกาหลี เป็นตัวเลือกที่ดี ในกลุ่ม เพราะว่าสองประเทศนี้มี "นวตกรรม" เป็นของตัวเอง เป็นประเทศที่เติบโตมาจาก "ฐานการผลิตของโลก" เช่นที่ไทยเป็น ในขณะที่สิงคโปร์ เล่นบท "คนกลางทางการค้า" มาเลเซีย เป็นประเทศที่รับเอาเทคโนโลยีมาขยายการผลิตตั้งแต่สมัยท่านมหาเดย์ สร้างไซเบอร์จายา แต่ยังไม่สำเร็จดี
หากเราจะต้อง Copy and Innovate นั้น เราควรเลือกผสมแบบไทย (วิถี และวิธีแบบไทย คือ เลือกเข้ามาให้รู้ พอเข้าใจแล้วเราเลือกข้อดี ผสมความเป็นเราลงไป บทความขยาย คลิปอธิบาย) คราวนี้ ความผูกพันกันในประวัติศาสตร์นั้น ประเทศเพื่อนบ้านของเรา 2 ชาติ อาจมีข้อขัดแย้งกันทางประวัติศาสตร์ และภูมิรัฐศาสตร์ซึ่งไม่ขอเอ่ยในที่นี้ เหลือ 2 ทางเลือก คือ ไต้หวัน และเกาหลี ซึ่งเป็นตัวเลือกที่ดีทั้งคู่ แต่ทว่าผมยังไม่มีโอกาสใด ๆ ที่จะเดินทางไปไต้หวันในแบบที่มีประสบการณ์เช่นที่เกาหลี เลยขอเชียร์เกาหลีไว้ก่อน และที่เกาหลี "ไทย" เป็นประเทศที่คนเกาหลี "ชอบ" และ เขายังรฤกถึงวันที่ กองพันพยัคฆ์น้อยของเราไปช่วยปลดแอกเกาหลีใต้ในสงครามเกาหลี สิ่งนี้ทำให้เกาหลีเป็นตัวเลือกที่โดดเด่นนั่นเอง
คำตอบแรก คือ บนความสวยงามของเศรษฐกิจเกาหลี บนนวตกรรมที่เขาแสดงสู่โลก มันไม่ได้มีแต่ความ "สวยหรู" ที่เราควรมอง กว่าที่ K-Culture K-Pop จะหลากท่วมโลกจนสร้างเม็ดเงินจากวัฒนธรรมได้ กว่าที่ เขาจะเป็นผู้นำด้าน Semi Conductor และเทคโนโลยีชั้นสูง เขาเองขายเครื่องซักผ้ามาก่อนจะขายจอ 8K ที่เกริ่นมาแบบนี้ ผมกำลังชวนให้เราเข้าใจว่า เราควรดูทั้งเรื่อง ดูในส่วนที่เป็น Drama Sci-fi Horror ที่เกิดขึ้นระหว่างทางด้วย ไม่ใช่ดูเฉพาะ "ตอนจบ" ที่สวยงาม และสิ่งที่เราจะเรียนรู้ในช่วง Authum in Korea ความหม่นหมองในการพัฒนาประเทศ, Hallow Winter ความล้มลุกคลุกคลาน ความเจ็บปวดในเหมันตฤดูที่หนาวเหน็บ จนเขารอดเข้าสู่ Korean Spring ใบไม้ผลิแห่งความหวัง และ พบ Summer ที่ใฝ่ฝัน อย่างในปัจจุบัน การเดินทางของเกาหลีน่าสนใจยิ่ง
คำตอบที่สอง คือ ไทย เคยอยู่ในสถาวะที่ดีกว่าเกาหลี ตั้งแต่ก่อนสงครามโลก จนกระทั่งถึงช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ในราว 80 ปีก่อน ซึ่งในขณะนัันไทยกับเกาหลีเคยอยู่ในสถานะใกล้เคียงกัน เมื่อ 30 ปีก่อน เกาหลี Sprint ตัวออกห่างจากไทย ในสมัย Asian Newly Industrialized Countries (NICs) ที่เขาเป็นเสือ 4 ตัวแห่งเอเซีย และเราจะเป็น "ตัวที่ 5" หรือ โชติช่วงชัชวาลย์ จบลงที่เราเป็น "แมวเมายาดองแบบปัจจุบัน", ปัจจุบันไทยกับเกาหลีแตกต่าง เกาหลีขยับเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว ในขณะที่เราอยู้ในกับดับของรายได้ปานกลาง ผมจึงตั้งชื่อหัวข้อว่า "บทเรียนจากแดนกิมจิ สู่เมืองส้มตำ" เพราะว่า เรามีความคล้ายคลึงกันมากนั่นเอง
คำตอบที่สาม เกาหลีเป็นตัวแทนของ Start up Nation และ Entreprenuership Nation ที่ดี ที่เราควร "เลียนแบบ" และ "พัฒนา" และสร้าง "นวตกรรม" (From Copy and Develop to Copy and Innovate) เพราะในประวัติศาสตร์การบุกเบิก Startup และ Entreprenuership เกาหลีต้องฝ่าฟันอุปสรรคมากมาย ทดลองหลายโมเดล ทำพลาดหฃายครั้ง เรียนรู้ แก้ไขจริงจัง ทว่า เกาหลี Dedicated (อุทิศ) สรรพกำลังและทรัพยากร ในโลกของ Strartup จะมีศัพท์แปลก ๆ สำหรับพวกคนหัวโบราณ เช่น Fail fast หรือในบริษัทชั้นนำแบบ Google จะมี 100x ในโลกขอ Experiential Learning คือ Learning from mistake/learning by doing จะหมวดใดก็ตามเกาหลีได้ผ่านมาแล้ว และพร้อมจะก้าวสู่วงรอบใหม่ ซึ่งอาจจะต้องผิดหวัง และเรียนรู้ ทว่าเกาหลีได้คุ้นเคยกับกระบวนการนี้แล้วกว่า 20 ปี
คำตอบที่สี่ หากเราจะต้อง Copy and Innovate ในความเป็นเอเซียนั้น ยังมีวัฒนธรรมพื้นฐานที่ใกล้เคียงกัน ต่อให้รูปแบบและพัฒนาการทางสังคมของเราอาจจะช้ากว่าหลายประเทศที่นำหน้าเราไปก็ตาม แต่มันดีกว่าที่จะไป "ตามรอยฝรั่ง" เพราะว่าเราตามรอยฝรั่งและผสมเป็นไทยมาหลายร้อยปีแล้ว เราอาจจะต้องลองผสม "เอเซีย" เขากับความเป็น "ไทย" ของเรา ถ้าถามผม ไต้หวันและเกาหลี เป็นตัวเลือกที่ดี ในกลุ่ม เพราะว่าสองประเทศนี้มี "นวตกรรม" เป็นของตัวเอง เป็นประเทศที่เติบโตมาจาก "ฐานการผลิตของโลก" เช่นที่ไทยเป็น ในขณะที่สิงคโปร์ เล่นบท "คนกลางทางการค้า" มาเลเซีย เป็นประเทศที่รับเอาเทคโนโลยีมาขยายการผลิตตั้งแต่สมัยท่านมหาเดย์ สร้างไซเบอร์จายา แต่ยังไม่สำเร็จดี
หากเราจะต้อง Copy and Innovate นั้น เราควรเลือกผสมแบบไทย (วิถี และวิธีแบบไทย คือ เลือกเข้ามาให้รู้ พอเข้าใจแล้วเราเลือกข้อดี ผสมความเป็นเราลงไป บทความขยาย คลิปอธิบาย) คราวนี้ ความผูกพันกันในประวัติศาสตร์นั้น ประเทศเพื่อนบ้านของเรา 2 ชาติ อาจมีข้อขัดแย้งกันทางประวัติศาสตร์ และภูมิรัฐศาสตร์ซึ่งไม่ขอเอ่ยในที่นี้ เหลือ 2 ทางเลือก คือ ไต้หวัน และเกาหลี ซึ่งเป็นตัวเลือกที่ดีทั้งคู่ แต่ทว่าผมยังไม่มีโอกาสใด ๆ ที่จะเดินทางไปไต้หวันในแบบที่มีประสบการณ์เช่นที่เกาหลี เลยขอเชียร์เกาหลีไว้ก่อน และที่เกาหลี "ไทย" เป็นประเทศที่คนเกาหลี "ชอบ" และ เขายังรฤกถึงวันที่ กองพันพยัคฆ์น้อยของเราไปช่วยปลดแอกเกาหลีใต้ในสงครามเกาหลี สิ่งนี้ทำให้เกาหลีเป็นตัวเลือกที่โดดเด่นนั่นเอง
หนทางไม่ได้โรยด้วยกลีบกุหลาบฉันใด ความสำเร็จของเกาหลีก็มิอาจราบเรียบแต่เริ่มฉันนั้น
ในขณะที่ผมใช้เวลาส่วนหนึ่งในการพยายาม sync ประวัติศาสตร์เกาหลีที่เคยเรียนแบบผ่าน ๆ ในฐานะอดีตนักศึกษาประวัติศาสตร์ ที่ไปนั่งเรียนวิชานี้เมื่อว่าง เพราะว่าตนเองไม่ได้ลงทะเบียนไว้ เนื่องจากอะไรนะหรือครับ เนื่องจากผมไม่เคยประทับใจอะไรในเกาหลี ครั้งแรกที่ไปเยือนแดนกิมจิ คือ ในงาน Expo ที่เกาหลีจัดขึ้นที่เมืองแตจอน ในปี 1993 (หรือเมื่อ 27 ปีก่อน หากนับจากปี 2020) มันเป็นช่วงที่ผมอยู่ประมาณ มัธยมศึกษาปีที่ 3 ซึ่งสมัยนั้น ไทยเพิ่งจะสิ้นสุดช่วงนโยบาย "โชติช่วงชัชวาลย์" ของป๋าเปรม (พลเอกเปรม ติณนสูลานนท์) เมื่อท่านลงจากอำนาจในปี 2531 คนในรุ่นราวคราวเดียวกับผมนั้น ตอน ประถมศึกษาปีที่ 6 จะสอบเข้าโรงเรียนสวนกุหลาบ จะต้องไปเรียนพิเศษ และต้องจำให้ได้ว่า Asian NICs; Newly Industrialized Countries คือประเทศอะไรบ้าง ซึ่งตอนนี้มี ประเทศ 4 ประเทศ ที่ถูกขนานนามกันว่าเป็นเสือแห่งเอเซีย (สิงคโปร์, ไต้หวัน, มาเลเซีย และ เกาหลี) และประเทศไทยของเราจะเป็นเสือตัวที่ 5 (ซึ่งปัจจุบันเรายังทำได้เพียงนั่งฟังแพลงเสือตัวที่ 11 ของคุณพงษ์ศิษฐ์ คำภีร์พลาง ๆ ไปก่อน)
ทำไมผมจึงต้องย้อนความกลับไปไกลถึง ปี 1993 หรือครับ นั่นเพราะว่า ในช่วงดังกล่าว คือช่วงเวลาที่ทุกประเทศที่มีฐานการผลิต มีทรัพยากร มีคน และมีเงินกู้จากแหล่งต่าง ๆ ของโลก กำลังเร่งเครื่องพัฒนาประเทศด้วยการเปลี่ยนประเทศเป็นฐานการผลิตอุปกรณือิเล็คทรอนิกส์ หรือไม่ก็เป็นการผลิตรถยนต์ หรือไม่ก็เป็นการสร้างตัวเองเป็นพ่อค้าคนกลาง สมัยนั้น 1993 การไปเหยียบเมืองแตจอนของเกาหลี (ซึ่งผมเพิ่งมาตั้งใจดูแผนที่เกาหลีอีกครั้ง หลังจากเกือบ 30 ปี ว่า แตจอนนั้นอยู่ที่ส่วนใดของเกาหลี; ปัจจุบัน แดจอนเป็นเมืองอันดับ 5 ของเกาหลี มีมหาวิทยาลัย 18 แห่ง สร้าง GDP อย่างมหาศาลให้กับเกาหลี) ในสมัยนั้น Expo ที่แตจอน พื้นบางส่วนของงาน ยังเป็นดิน พื้นหลายส่วนถูกปูด้วยอิฐบล๊อกที่เด็กอย่างผมตั้งคำถามว่ากับตัวเองว่าเรามาดูอะไรกัน (ทุกวันนี้ผมยังเก็บกระปุกรูปโดมของงานแตจอนเอ็กซ์โปอยู่เลย) ในโซลขณะนั้น อาหารเช้า ยังไม่มีไส้กรอกอร่อย ๆ ให้กินด้วยซ้ำ ใช่แล้วครับ ผมกำลังจะบอกว่า ผมรู้สึกว่าเมืองไทยเจ๋งกว่าเกาหลีในมุมมองของเด็กอายุ 14 ในขณะนั้น ผมเพิ่งจะมาทราบหลังจาก 30 ปี ว่า โปรเจค Deajon Expo นั้น เป็นแนวทางการพัฒนาเมืองของเกาหลี มีการสร้างเครือข่ายรถไฟความเร็วสูงมาตั้งแต่สมัยนั้น https://en.wikipedia.org/wiki/Daejeon
ผ่านมาเกือบ 30 ปี ผมได้มีโอกาสแวะไปเกาหลีบ้างในการเป็นทัวร์ลีดเดอร์ แต่ไม่บ่อยครั้งนัก แต่การไปเกาหลีในปี 2020 เมื่อปลายเดือนมกราคมที่ผ่านมา ผมรู้สึกแตกต่างกัน ผมรู้สึกว่าประเทศที่รักของผมที่ผมเคยเชื่อว่าดีกว่าเกาหลีในวัย 14 เมื่อเทียบกันในเวลาและปัจจุบัน พบว่าในวัย 4x นั้น ประเทศเกาหลีพัฒนาห่างจากเราไปมาก กลายเป็น Developed Country หรือประเทศที่พัฒนาแล้ว โดยหากวัดจาก Per Capita Income นั้น สูงกว่าประเทศของเรามาก และเราอยู่ในกลุ่มประเทศที่ติดกับดักรายได้ปานกลางมาแล้วกว่า 20 ปี ในทริปนี้ได้รับความกรุณาจากสถานฑูตไทย ณ เกาหลี ได้มีโอกาสไปรับฟังคำบรรยายจากท่านรองเอกอัครราชฑูตท่ามกลางการระบาดของโคโรน่าไวรัสที่กำลังเพิ่มขึ้น (มกราคม 2563) ได้มีโอกาสไปเยี่ยมชมพิพิทธภัณฑ์สถานแห่งชาติเกาหลีครั้งแรก ทำให้รู้จักเกาหลีมากขึ้นกว่าตัวหนังสือ และบทเรียนที่เคยเรียน จนมาเป็นส่วนหนึ่งที่จะเล่าโดยเรืองราวเกาหลีกว่า 8,000 ปี แบบย่อเพื่อให้เข้าใจที่มาที่ไปก่อนจะไปส่วนสำคัญอีกส่วน คือ การสร้างเศรษฐกิจของเกาหลีในรอบ 60 ปีที่ผ่านมา (1961; 2504) โดยเทียบกับประเทศไทย เพื่อที่เราจะได้นำเอาสิ่งดีดี ที่เกิดขึ้นจากการทดลองผิดถูกของเกาหลี มาเป็นสะพานในการเรียนรู้ และเปลี่ยนตัวเองได้ไวขึ้น เพราะว่า โลกหลังยุคโควิด-19 นั้น เปลี่ยนแปลงไปมาก
ในขณะที่ผมใช้เวลาส่วนหนึ่งในการพยายาม sync ประวัติศาสตร์เกาหลีที่เคยเรียนแบบผ่าน ๆ ในฐานะอดีตนักศึกษาประวัติศาสตร์ ที่ไปนั่งเรียนวิชานี้เมื่อว่าง เพราะว่าตนเองไม่ได้ลงทะเบียนไว้ เนื่องจากอะไรนะหรือครับ เนื่องจากผมไม่เคยประทับใจอะไรในเกาหลี ครั้งแรกที่ไปเยือนแดนกิมจิ คือ ในงาน Expo ที่เกาหลีจัดขึ้นที่เมืองแตจอน ในปี 1993 (หรือเมื่อ 27 ปีก่อน หากนับจากปี 2020) มันเป็นช่วงที่ผมอยู่ประมาณ มัธยมศึกษาปีที่ 3 ซึ่งสมัยนั้น ไทยเพิ่งจะสิ้นสุดช่วงนโยบาย "โชติช่วงชัชวาลย์" ของป๋าเปรม (พลเอกเปรม ติณนสูลานนท์) เมื่อท่านลงจากอำนาจในปี 2531 คนในรุ่นราวคราวเดียวกับผมนั้น ตอน ประถมศึกษาปีที่ 6 จะสอบเข้าโรงเรียนสวนกุหลาบ จะต้องไปเรียนพิเศษ และต้องจำให้ได้ว่า Asian NICs; Newly Industrialized Countries คือประเทศอะไรบ้าง ซึ่งตอนนี้มี ประเทศ 4 ประเทศ ที่ถูกขนานนามกันว่าเป็นเสือแห่งเอเซีย (สิงคโปร์, ไต้หวัน, มาเลเซีย และ เกาหลี) และประเทศไทยของเราจะเป็นเสือตัวที่ 5 (ซึ่งปัจจุบันเรายังทำได้เพียงนั่งฟังแพลงเสือตัวที่ 11 ของคุณพงษ์ศิษฐ์ คำภีร์พลาง ๆ ไปก่อน)
ทำไมผมจึงต้องย้อนความกลับไปไกลถึง ปี 1993 หรือครับ นั่นเพราะว่า ในช่วงดังกล่าว คือช่วงเวลาที่ทุกประเทศที่มีฐานการผลิต มีทรัพยากร มีคน และมีเงินกู้จากแหล่งต่าง ๆ ของโลก กำลังเร่งเครื่องพัฒนาประเทศด้วยการเปลี่ยนประเทศเป็นฐานการผลิตอุปกรณือิเล็คทรอนิกส์ หรือไม่ก็เป็นการผลิตรถยนต์ หรือไม่ก็เป็นการสร้างตัวเองเป็นพ่อค้าคนกลาง สมัยนั้น 1993 การไปเหยียบเมืองแตจอนของเกาหลี (ซึ่งผมเพิ่งมาตั้งใจดูแผนที่เกาหลีอีกครั้ง หลังจากเกือบ 30 ปี ว่า แตจอนนั้นอยู่ที่ส่วนใดของเกาหลี; ปัจจุบัน แดจอนเป็นเมืองอันดับ 5 ของเกาหลี มีมหาวิทยาลัย 18 แห่ง สร้าง GDP อย่างมหาศาลให้กับเกาหลี) ในสมัยนั้น Expo ที่แตจอน พื้นบางส่วนของงาน ยังเป็นดิน พื้นหลายส่วนถูกปูด้วยอิฐบล๊อกที่เด็กอย่างผมตั้งคำถามว่ากับตัวเองว่าเรามาดูอะไรกัน (ทุกวันนี้ผมยังเก็บกระปุกรูปโดมของงานแตจอนเอ็กซ์โปอยู่เลย) ในโซลขณะนั้น อาหารเช้า ยังไม่มีไส้กรอกอร่อย ๆ ให้กินด้วยซ้ำ ใช่แล้วครับ ผมกำลังจะบอกว่า ผมรู้สึกว่าเมืองไทยเจ๋งกว่าเกาหลีในมุมมองของเด็กอายุ 14 ในขณะนั้น ผมเพิ่งจะมาทราบหลังจาก 30 ปี ว่า โปรเจค Deajon Expo นั้น เป็นแนวทางการพัฒนาเมืองของเกาหลี มีการสร้างเครือข่ายรถไฟความเร็วสูงมาตั้งแต่สมัยนั้น https://en.wikipedia.org/wiki/Daejeon
ผ่านมาเกือบ 30 ปี ผมได้มีโอกาสแวะไปเกาหลีบ้างในการเป็นทัวร์ลีดเดอร์ แต่ไม่บ่อยครั้งนัก แต่การไปเกาหลีในปี 2020 เมื่อปลายเดือนมกราคมที่ผ่านมา ผมรู้สึกแตกต่างกัน ผมรู้สึกว่าประเทศที่รักของผมที่ผมเคยเชื่อว่าดีกว่าเกาหลีในวัย 14 เมื่อเทียบกันในเวลาและปัจจุบัน พบว่าในวัย 4x นั้น ประเทศเกาหลีพัฒนาห่างจากเราไปมาก กลายเป็น Developed Country หรือประเทศที่พัฒนาแล้ว โดยหากวัดจาก Per Capita Income นั้น สูงกว่าประเทศของเรามาก และเราอยู่ในกลุ่มประเทศที่ติดกับดักรายได้ปานกลางมาแล้วกว่า 20 ปี ในทริปนี้ได้รับความกรุณาจากสถานฑูตไทย ณ เกาหลี ได้มีโอกาสไปรับฟังคำบรรยายจากท่านรองเอกอัครราชฑูตท่ามกลางการระบาดของโคโรน่าไวรัสที่กำลังเพิ่มขึ้น (มกราคม 2563) ได้มีโอกาสไปเยี่ยมชมพิพิทธภัณฑ์สถานแห่งชาติเกาหลีครั้งแรก ทำให้รู้จักเกาหลีมากขึ้นกว่าตัวหนังสือ และบทเรียนที่เคยเรียน จนมาเป็นส่วนหนึ่งที่จะเล่าโดยเรืองราวเกาหลีกว่า 8,000 ปี แบบย่อเพื่อให้เข้าใจที่มาที่ไปก่อนจะไปส่วนสำคัญอีกส่วน คือ การสร้างเศรษฐกิจของเกาหลีในรอบ 60 ปีที่ผ่านมา (1961; 2504) โดยเทียบกับประเทศไทย เพื่อที่เราจะได้นำเอาสิ่งดีดี ที่เกิดขึ้นจากการทดลองผิดถูกของเกาหลี มาเป็นสะพานในการเรียนรู้ และเปลี่ยนตัวเองได้ไวขึ้น เพราะว่า โลกหลังยุคโควิด-19 นั้น เปลี่ยนแปลงไปมาก
| ปัจจุบันล้วนมีรากฐานมาจากอดีตและอดีตของเกาหลีนั้นต้องหันกลับไปมองและพิจารณา; Innovative & Adaptive Gene (ยีนแห่งการปรับตัวและการสร้างสรรค์) ในฐานะที่ผมจบการศึกษาสายประวัติศาสตร์ และควมชื่นชอบส่นวตัว หากเราจะเข้าใจประเทศ หรือคนในขาติใด ๆ ให้เราไปดูพิพิทธภัณฑ์ ผมมีโอกาสไปพิพิทธภัณฑ์สถานแห่งชาติเกาหลีครั้งแรกเมื่อปี 2563 นี่เอง หลังจากที่ไเกาหลีมาหลายครั้งมากในชีวิต ในฐานะทัวร์ลีดเดอร์ ซึ่งคนไทยเรานั้น รู้จักแต่เมียงดง ทงแดมุน นัมแดมุน สำหรับคนที่่ไม่มีพื้นทางประวัติศาสตร์นั้น เวลาไปพิพิทธภัณฑ์จะสงสัยว่ามาดูอะไร คำตอบของผมคือ ไปดูประวัติศาสตร์ เพื่อเข้าใจความเป็นอยู่ ธรรมชาติ สภาพแวดล้อม ประเพณี แนวคิด ที่หล่อหลอมคนในชาตินั้น ให้มีบุคคลิกลักษณะแตกต่างกันออกไป เพื่อที่เราจะเข้าใจเขา ก่อนที่เราจะตีความสิ่งที่เราเห็นในปัจจุบัน ผม "ตกตะลึง" เน้นว่า ผม "ตกตะลึง" ในสมบัติแห่งชาติเกาหลี ซึ่งทำให้ผมเปลี่ยนวิธีการมองเกาหลีในปัจจุบันอย่างสิ้นเชิง ในสมัยที่เกาหลีปิดประเทษ เป็น Hermit State จากจีน และประเทศอื่น ๆ นั้น เขาไม่ได้หยุดยั้งการสร้างนวตกรรมเลย และการที่ 3 อาณาจักร กับระบบกษัตริย์เกาหลีนัั้นถูกแยกด้วยภูมิภาคอันทารุณ สมบัติแห่งชาตินั้นมีความสมบูรณ์ เช่น ในภาพด้านซ้ายมือของท่าน ในรูปที่ 2 นั้น เป็นรูปโลงศพดินแผนขนาดใหญ่ และสมบูรณ์มากที่สุด เท่าที่ผมเคยเห็นมาในพิพิทธภัณฑ์ในหลายประเทศ การจะมีความสามารถในการเผาโลงศพดินเผาที่มีขนาดใหญ่เท่านั้นนี้ จะต้องมองลึกลงไปว่าเขาต้องมีความเชี่ยวชาญอย่างไร และหากได้เห็นเครื่องปั้นดินเผาเกาหลี |
ซึ่งเกาหลีเครมว่า เป็นต้นกำเนิดของเครื่องปั้้นกินเผาอันลือชื่อของญี่ปุ่น เพราะว่า ญี่ปุ่นนำเอาบุคลากรขากเกาหลีไปในช่วงที่ญี่ปุ่นเข้ามามาอิทธิพลในเกาหลีนั้น ท่านจะพบว่า ฝีมือช่าง เทคนิคต่าง ๆ ต้องผ่านการสั่งสมความรู้เป็นเวลายาวนาน ผมเดินไปพร้อมตะลึงงันอีกรอบ เมื่อเห็นแผนที่ดาวของเกาหลี สมัยโชซอน และแผนที่ประเทศและเมืองที่พิมพ์ขึ้นจากแม่พิมพ์และต่อกันเป็นขนาดใหญ่ แบบพิมพ์สีเสียด้วย มีพระพุทธรูปขนาดใหญ่มากมายที่ใช่วัสดุเป็นเหล็กกล้า ขนาด 2 เมร ขึ้นไป ทั้งหมดนี้ผมเพียงจะบอกว่า หากเอาปัจจุบันไปเทียบกับอดีต คุณอาจจะไม่เข้าใจมัน เพราะว่าเทคโนโลยีสมัยนี้นั้นทันสมัยมากแต่บางสิ่งนั้น ไม่สามารถทำได้ใจากเทคโนโลยีในปัจจุบัน หรือทำได้ยากมาก แต่หากเทียบกันทางประวัติศาสตร์ร่วมสมัย ในระยะเวลาเดียวกัน คาบสมุทรเกาหลีนั้นไม่ธรรมดาในเชิงนวตกรรม และเทคโนโลยี ที่ถ่ายทอดออกมาในรูปแบบของงานศิลปะ ของใช้ประจำวัน ยิ่งเฉพาะกับข้าวของในราชสำนักแล้วยิ่งทำให้เห็นรากฐานในการพัฒนา เกาหลีมี know-how เป็นของตัวเอง บางส่วนรับมา และพัฒนาขึ้นเองในช่วงที่เป็น Hermit state กว่าพันปี คุณสมบัติในการเอาชนะธรรมชาติ การสร้างสรรค์ วิธีคิด นั้น เป็นสิ่งที่เป็น Innovative and Adaptive Gene ตั้งต้นมาแต่หลายพันปีก่อน (ไทย เป็นหนึ่งในประเทศที่มี Gene สายพันธ์นี้ แต่เราอาจจะไปพลาดใน Gene ชุดอื่น ๆ ที่ประกอบกันในสาย DNA ของชาติ)
Kim Gu เป็นนักพัฒนาหัวก้าวหน้าในยุคที่ประเทศเกาหลีกำลังเปลี่ยนแปลงตัวเองจากผลของการเกิดแผนพัฒนาเศรษฐกิจเกาหลี ผมชอบวลีนี้ ที่พบบนผนังของพิพิทธภัณฑ์ในส่วนการจัดแสดงพัฒนาการของเกาหลีหลังสงครามโลก และสงครามเกาหลี "ฉันอยากให้ประเทศของฉันพัฒนาเป็นประเทศที่งดงามประเทศหนึ่งในโลกใบนี้ สิ่งที่จะกรุยทางไปสู่ผลลัพท์นี้ คือ การที่เราพัฒนาพลังแห่งการวิวัฒน์วัฒนธรรมเกาหลี ศ่งจะทำให้เกิดความยินดีทั้งต่อคนเกาหลีและต่อโลกใบนี้ และสันติภาพอันงดงามเร่ิมต้นจากชาติของเรา" ไดอารี่ของ Baekbeom ปี 1947 (2490)
สิ้นสุดยุคแห่ง Hermit State เกาหลีกระโจนเข้าสู่ยุคที่ถูกประเทศเพื่อนบ้านกดดันรอบด้าน หนึ่งในประเทศที่มีอิทธิพลนอกจากจีนแล้วยังมีญี่ปุ่น ที่เป็นประเทศที่กำลังพัฒนาตัวเอง และเปิดประเทศไปก่อนหน้านั้น ในยุคสมัยเมจิ (1868-1912) จากผลของการเข้ามาของตะวันตก จากประวัติศาสตร์ในช่วงนี้ และก่อนหน้านี้ ที่ได้รับแรงกกดดันจากจีนจนต้องปิดประเทศไปนั้น เป็นจุดเริ่มต้นของ Patience Gene ยีนแห่งความอดทนอดกลั้น ของเกาหลี จนกระทั่งโลกนำพาสงครามโลกครั้งที่ 2 เข้าไปยังเกาหลี ต่อเนื่องมาถึงยุคสงครามเกาหลีที่คนนอกแบ่งเกาหลีอกเป็น 2 ส่วน ทิ้งบาดแผลและความทุกข์ยากไว้มากมาย ประวัติศาสตร์ช่วงนี้กินเวลากว่าหนึ่งศตวรรษ ตั้งแต่ 1876 ถึงราวต้นทศวรรษที่ 1970 ประวัติศาสตร์ช่วงนี้สร้างแรงกดดัน ความอดทน และแรงผลักดันให้กับเกาหลีที่จะเปลี่ยนเป็นพลังขับเคลื่อนในสมัยต่อมาที่เป็นจุดเริ่มต้นของปาฏิหาริย์แห่งแม่น้ำฮาน (Miracle of Han River)
ปาฎิหาริย์แห่งแม่น้ำฮาน กับการเกิดขึ้นของ National Dedication Gene & Value Deliverable Gene ยีนแห่งความมุ่งมั่นสร้างสรรค์ชาติ ยีนแห่งการส่งมอบคุณค่าในสังคม สิ่งนี้เป็นสิ่งที่ผมตระหนักหลังจากที่ได้พูดคุยกับ Professor ที่ K-ICT ที่จะกล่าวรายละเอียดใน EP2 ประกอบกับหลายบทความ เนื้อหาทางประวัติศาสตร์ตั้งแต่ ทศวรรษ 1960 เรื่อยมาจะถึงช่วงปี 2000 ซึ่งเป็นช่วง 40 ปี ที่พลังของยีนแห่งความมุ่งมัน่สร้างสรรค์ชาติสายธารประวัติศาสตร์อันยาวนานสร้างขึ้นมา และมาแบ่งบานในช่วงหลังปี 2000 อย่างงดงาม ตามที่ Kim Gu กล่าวไว้ในข้อความอห่งแรงบันดาลใจ ผมไม่แปลกใจเลยว่า ทำไมสายธารแห่งวัฒนธรรมเกาหลีจึงไหลบ่าท่วมท้นมาพร้อมกับพลังทางเศรษฐกิจที่ก้าวกระโดดจนทำให้ เกาหลีเปลี่ยนจากประเทศที่ยากจนที่สุดประเทศหนึงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นประเทศอภิมหาอำนาจด้านเทคโนโลยีดังปัจจุบัน
ใน EP1 นี้ คือ จุดกำเนิดของ K-Gene สำคัญที่หากไม่เล่าให้ฟังจะเสียดาย เพราะว่า ผลไม่ได้เกิดขึ้นได้โดยปราศจากเหตุ และเหตุส่วนหนึ่งนั้นต้องเข้าใจประวัติศาสตร์ของประเทศนี้เสียก่อน การที่ผมต้องเปรียบเทียบกับประเทศไทยอันเป็นที่รัก เพราะว่าผมอยากเห็นประเทศของเราเติบโตพัฒนาไปไกล เราจะเสียเวลากับเรื่องไม่เป็นเรื่องที่ฉุดรั้งประเทศของเรา และเป็น Gene ด้อย ที่ควรสร้าง Gene เด่นในลักษณะเดียวกับเกาหลี เพื่อไม่ให้ ความผิดพลาดจากปัญหาภายในของเรา ปัญหาของความเป็นไทยอย่างไม่คิดหน้าหลัง จะต้องจบลงในพุทธศักราชนี้ จึงขอให้วิกฤตแห่งโควิดได้เป็นจุดเริ่มต้นของการ Mutant (กลายพันธุ์) ของ Gene รุ่นเดิมของไทย เอาประวัติศาสตร์ของเกาหลี ประวัติศาสตร์ร่วมสมัย(หากมองเวียตนาม สิงคโปร์ มาเลเซียด้วยจะยิ่งเข้าใจมากขึ้น) และประวัติศษสตร์ของเราเอง เมื่อครั้งที่เรา และเกาหลีเริ่มต้นพร้อม ๆ กันเมื่อ 60 ปีก่อน บนรากฐานที่เราแข็งแรงและร่ำรวยกว่าเขาในสมัยนั้น ใน EP2 ของ K-Experience จะได้เข้าสู่บทเรียนของ K-Entreprenuer เสียที
สิ่งใดดีดีให้เก็บไว้ สิ่งใดไม่ดีให้โยนทิ้งไป เราไม่ได้โทษอดีต เพราะว่าเราเปลี่ยนแปลงมันไม่ได้ สิ่งที่ทำได้ คือ ตั้งต้นวันนี้เพื่อประเทศของเราในอนาคต อย่าเอาเวลามาเกลียดชังกัน เพพราะว่า Dedecation Gene ของเราจะไม่เกิด เราควรสะกดกั้น Hope Less Patience Gene ของเราเสีย และใช้จุดแข็งของ Innovative and Adative Gene ที่คนไทยมีมากมาย พัฒนาประเทศของเราเอง
ปาฎิหาริย์แห่งแม่น้ำฮาน กับการเกิดขึ้นของ National Dedication Gene & Value Deliverable Gene ยีนแห่งความมุ่งมั่นสร้างสรรค์ชาติ ยีนแห่งการส่งมอบคุณค่าในสังคม สิ่งนี้เป็นสิ่งที่ผมตระหนักหลังจากที่ได้พูดคุยกับ Professor ที่ K-ICT ที่จะกล่าวรายละเอียดใน EP2 ประกอบกับหลายบทความ เนื้อหาทางประวัติศาสตร์ตั้งแต่ ทศวรรษ 1960 เรื่อยมาจะถึงช่วงปี 2000 ซึ่งเป็นช่วง 40 ปี ที่พลังของยีนแห่งความมุ่งมัน่สร้างสรรค์ชาติสายธารประวัติศาสตร์อันยาวนานสร้างขึ้นมา และมาแบ่งบานในช่วงหลังปี 2000 อย่างงดงาม ตามที่ Kim Gu กล่าวไว้ในข้อความอห่งแรงบันดาลใจ ผมไม่แปลกใจเลยว่า ทำไมสายธารแห่งวัฒนธรรมเกาหลีจึงไหลบ่าท่วมท้นมาพร้อมกับพลังทางเศรษฐกิจที่ก้าวกระโดดจนทำให้ เกาหลีเปลี่ยนจากประเทศที่ยากจนที่สุดประเทศหนึงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นประเทศอภิมหาอำนาจด้านเทคโนโลยีดังปัจจุบัน
ใน EP1 นี้ คือ จุดกำเนิดของ K-Gene สำคัญที่หากไม่เล่าให้ฟังจะเสียดาย เพราะว่า ผลไม่ได้เกิดขึ้นได้โดยปราศจากเหตุ และเหตุส่วนหนึ่งนั้นต้องเข้าใจประวัติศาสตร์ของประเทศนี้เสียก่อน การที่ผมต้องเปรียบเทียบกับประเทศไทยอันเป็นที่รัก เพราะว่าผมอยากเห็นประเทศของเราเติบโตพัฒนาไปไกล เราจะเสียเวลากับเรื่องไม่เป็นเรื่องที่ฉุดรั้งประเทศของเรา และเป็น Gene ด้อย ที่ควรสร้าง Gene เด่นในลักษณะเดียวกับเกาหลี เพื่อไม่ให้ ความผิดพลาดจากปัญหาภายในของเรา ปัญหาของความเป็นไทยอย่างไม่คิดหน้าหลัง จะต้องจบลงในพุทธศักราชนี้ จึงขอให้วิกฤตแห่งโควิดได้เป็นจุดเริ่มต้นของการ Mutant (กลายพันธุ์) ของ Gene รุ่นเดิมของไทย เอาประวัติศาสตร์ของเกาหลี ประวัติศาสตร์ร่วมสมัย(หากมองเวียตนาม สิงคโปร์ มาเลเซียด้วยจะยิ่งเข้าใจมากขึ้น) และประวัติศษสตร์ของเราเอง เมื่อครั้งที่เรา และเกาหลีเริ่มต้นพร้อม ๆ กันเมื่อ 60 ปีก่อน บนรากฐานที่เราแข็งแรงและร่ำรวยกว่าเขาในสมัยนั้น ใน EP2 ของ K-Experience จะได้เข้าสู่บทเรียนของ K-Entreprenuer เสียที
สิ่งใดดีดีให้เก็บไว้ สิ่งใดไม่ดีให้โยนทิ้งไป เราไม่ได้โทษอดีต เพราะว่าเราเปลี่ยนแปลงมันไม่ได้ สิ่งที่ทำได้ คือ ตั้งต้นวันนี้เพื่อประเทศของเราในอนาคต อย่าเอาเวลามาเกลียดชังกัน เพพราะว่า Dedecation Gene ของเราจะไม่เกิด เราควรสะกดกั้น Hope Less Patience Gene ของเราเสีย และใช้จุดแข็งของ Innovative and Adative Gene ที่คนไทยมีมากมาย พัฒนาประเทศของเราเอง
คลิกที่นี่เพื่ออ่าน EP 10 (K-Experience Chapter 2) บทเรียนจากแดนกิมจิ สู่เมืองส้มตำ ว่าด้วยการเดินทางจาก Start up สู่ Entrepreneurship: The Miracle of Han River มหกรรมสร้างชาติเพื่อเป็นสมาชิกอันโดดเด่นบนโลก